[Update] Thonburi Bamrungmuang Hospital | โรค ซึม เศร้า มี อาการ อย่างไร – Sonduongpaper

โรค ซึม เศร้า มี อาการ อย่างไร: คุณกำลังดูกระทู้

โรคซึมเศร้าพบได้ทั่วไป จากการสำรวจทางระบาดวิทยาโรคจิตเภทและปัญหาสุขภาพจิตของประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2546 พบว่าคนไทยอายุ 15-59 ปี ป่วยเป็นโรคซึมเศร้า (major depressive disorder) ร้อยละ 3.2 และโรค dysthymia ร้อยละ 1.18 แม้ว่าโรคนี้จะไม่ทำให้เสียชีวิตโดยตรง ยกเว้นผู้ป่วยฆ่าตัวตายสำเร็จ แต่ผู้ที่ป่วยด้วยโรคซึมเศร้าก็เกิดความพิการได้ และเป็นโรคที่ก่อให้เกิดความสูญเสียเป็นอันดับที่ 4 เมื่อวัดจากการสูญเสียปีสุขภาวะ (DALYs) และในปี ค.ศ. 2020 คาดว่าจะเลื่อนขึ้นเป็นอันดับ 2  ผู้ที่เข้ารับการรักษาในเวชปฏิบัติทั่วไปจำนวนไม่น้อยมีโรคซึมเศร้าเกิดร่วมกับโรคทางกายและโรคทางจิตเวชอื่นๆ แต่ไม่ได้รับการวินิจฉัยและรักษาอย่างเหมาะสม17 บุคลากรสาธารณสุข โดยเฉพาะแพทย์และพยาบาล จึงมีบทบาทมากขึ้นในการคัดกรองผู้ป่วยที่มาด้วยปัญหาซึมเศร้า และจำเป็นต้องมีความรู้เพื่อวินิจฉัยแยกโรค รวมถึงรักษาได้อย่างถูกต้อง

ความหมายเกี่ยวกับอารมณ์ที่ควรทราบ

– Emotion คือ ความรู้สึกที่มีความซับซ้อนได้รับอิทธิพลจากจิตใจ ร่างกาย และพฤติกรรม

– Mood คือ ส่วนของ  emotion ซึ่งเป็นความรู้สึกที่อยู่ภายในและคงอยู่นาน ถ้ามีความผิดปกติรุนแรงอาจส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมทุกด้าน รวมทั้งการรับรู้โรคภายนอก

– Affect หมายถึง ลักษณะอารมณ์ที่แสดงให้เห็นภายนอก บอกถึงระดับความรู้สึกภายในและบอกสภาวะอารมณ์ของบุคคลนั้นๆ โยที่ผู้อื่นสามารถสังเกตและประเมินได้ ส่วนใหญ่จะแสดงออกทางสีหน้า

ความเศร้าปกติ (normal sadness) เป็นอารมณ์ด้านลบ ซึ่งทางจิตวิทยาถือเป็นสภาวะอารมณ์ที่เกิดขึ้นเป็นครั้งคราวกับบุคคลทั่วไปทุกเพสทุกวัยเมื่อเผชิญกับการสูญเสีย ผิดหวัง หรือความรู้สึกอึดอัดทรมาน

ภาวะซึมเศร้า (depression) ต่างจากความเศร้าปกติตรงที่อาจไม่ได้เกิดจากเหตุการณ์จริงแต่อาจเกิดจากการคาดการณ์ล่วงหน้าหรือคิดไปเอง และถ้าเกิดจากเหตุการณ์สูญเสียจริงก็มักจะมีอาการเศร้ามากเกินควรและนานเกินไป ไม่ดีขึ้นแม้ได้รับกำลังใจหรืออธิบายด้วยเหตุผล มักรู้สึกด้อยค่า รู้สึกผิด อยากตาย และพบบ่อยว่ามีผลกระทบต่อหน้าที่การงาน กิจวัตรประจำวัน และการสังคมทั่วไป ในรายที่รุนแรงก็จะมีอาการทางกายด้วย เช่น มีความผิดปกติของการนอน (นอนมากเกินไปหรือนอนไม่หลับ) เบื่ออาหาร น้ำหนักลด หรืออยากอาหารมากขึ้น น้ำหนักเพิ่มขึ้น

โรคซึมเศร้า (depressive disorder) เป็นโรคทางจิตเวชชนิดหนึ่งที่พบได้บ่อยและเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่สำคัญโรค ที่มีอารมณ์เศร้าเป็นอาการเด่น  ดังนั้นเมื่อพบผู้ป่วยมีอารมณ์ซึมเศร้า ให้ประเมินอาการอื่นๆที่พบร่วม และจะถือว่าเป็นโรคซึมเศร้าก็ต่อเมื่อมีอาการครบตามเกณฑ์การวินิจฉัยโรคซึมเศร้า ซึ่งในปัจจุบันเกณฑ์ในการวินิจฉัยที่ใช้อยู่ 2 ระบบ คือ The Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders 5th edition (DSM-V) และระบบมาตรฐานการจำแนกโรคระหว่างประเทศขององค์การอนามัยโลก ฉบับที่ 10 (The international Classification of Diseases 10th  revision ; ICD-10)

โดยในประเทศไทยใช้ทั้ง 2 ระบบ โดยในด้านการเรียนการสอน และการให้การวินิจฉัยโรค จะยึดถือตามระบบDSM-V เป็นหลัก เช่นเดียวกับในสากลนิยม ส่วนในด้านการระบาดวิทยาและการวางแผนการใช้ทรัพยากรสาธารณสุข จะใช้การบันทึกรหัสโรคตาม ระบบ ICD-10 ซึ่งในบทความนี้จะกล่าวถึงโรคซึมเศร้า ตามระบบ DSM-V และเนื่องจากกลุ่มโรคซึมเศร้า (Depressive disorders) ประกอบด้วยหลายโรคย่อย ที่แตกต่างกันตามเกณฑ์การวินิจฉัยและสาเหตุรวมถึงพยาธิสรีรวิทยาของการเกิดโรค แต่ในที่นี้จะขอกล่าวถึงโรคที่พบบ่อยในกลุ่มโรคนี้ คือ โรคซึมเศร้า (Major depressive disorder) และ โรคซึมเศร้าเรื้อรัง (Persistent depressive disorder/dysthymia)

บทความโดย :

นพ.พิทยา พิสิฐเวช
ศูนย์ตรวจสุขภาพ โรงพยาบาลธนบุรี บำรุงเมือง

 

 

[NEW] วิธีรักษาโรคซึมเศร้าด้วยตัวเอง เป็นอย่างไร? ต้องทำอะไรบ้าง? | โรค ซึม เศร้า มี อาการ อย่างไร – Sonduongpaper

De Zwart PL, Jeronimus BF, de Jonge P, et al. (October 2019). “Empirical evidence for definitions of episode, remission, recovery, relapse and recurrence in depression: a systematic review”. Epidemiology and Psychiatric Sciences. 28 (5): 544–562. doi:10.1017/S2045796018000227. PMID 29769159.


รายการสุขภาพดีศิริราช ตอน \”โรคซึมเศร้า เอาให้อยู่\”


โดย อ.พญ.ธิดารัตน์ ปุรณะชัยคีรี
ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ม.มหิดล

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

รายการสุขภาพดีศิริราช ตอน \

9 วิธีสังเกต อาการโรคซึมเศร้า ด้วยตัวเอง c]t มีวิธีรักษาโรคซึมเศร้าด้วยตัวเองหรือไม่?


โดยสถิติจากกรมสุขภาพจิตคนไทยเป็นโรคป่วยซึมเศร้ากว่า 1.6 ล้านคน สาเหตุมาจากความเครียด เรื่องปัญหาเศรษฐกิจและแวดล้อมรอบข้าง เรื่องการงาน เรื่องครอบครัว
ในสังคมปัจจุบันทุกคนมีความเครียดสูงมากขึ้น ทำให้ผู้ป่วยจากโรคซึมเศร้ามีปริมาณเพิ่มมากขึ้น และที่น่าตกใจคือ มากกว่าร้อยละ 60% ของสาเหตุการฆ่าตัวตายในประเทศไทย มีสาเหตุจากอาการป่วยด้วยโรคซึมเศร้า ซึ่งเป็นผู้ชายมากกว่าผู้หญิง
โรคซึมเศร้าอาจจะเกิดได้กับตัวคุณเองหรือคนใกล้ตัว ถ้าหากเรารู้ตัวช้าเกินไปอาจจะทำให้อาการป่วยเป็นหนักมากขึ้น และมีส่วนทำให้การรักษายากมากขึ้น หรืออาจจะทำให้เกิดการสูญเสียได้
ก่อนอื่นมารู้กันก่อนว่า โรคซึมเศร้า คืออะไร
โรคซึมเศร้า เป็นโรคที่มีความผิดปกติทางด้านอารมณ์ ก็จะมีอาการประมาณว่า เบื่อหน่ายสิ่งรอบตัว เศร้าใจ หดหู่ใจ ทุกอย่างรอบตัวรู้สึกแย่ไปหมด และเป็นติดต่อกันนานถึง 2 อาทิตย์
โดยทั่วไปการเป็นโรคซึมเศร้าเกิดขึ้นได้หลายปัจจัย ไม่สามารถสรุปได้ว่า คนที่เป็นโรคซึมเศร้าจะมีปัจจัยเดียวที่ทำให้เป็นโรคนี้ อายุเฉลี่ยที่พบบ่อยเลย จะเป็นวัยผู้ใหญ่ไปแล้ว ช่วงอายุประมาณ 3040 ปีขึ้นไป ดูช่วงอายุแล้วก็จะเป็นช่วงวัยทำงาน เป็นวัยที่มีความรับผิดชอบมากขึ้นทั้งด้านการงานและครอบครัวนะครับ
ทีนี้ มีวิธิสังเกต อาการเสี่ยงโรคซึมเศร้า เพื่อให้เราพร้อมสังเกตตัวเองหรือคนใกล้ตัว จะมีอาการประมาณนี้ครับ
1.มักจะมีอารมณ์หดหู่ หม่นหมอง หรือร้องไห้ทั้งวัน
2.สนใจทำกิจกรรมอื่นๆ น้อยลง
3.จะมีปัญหาใการนอนไม่หลับในเวลากลางคืน หรืออาจจะนอนมากเกินไป
4.เบื่ออาหาร กินไม่ได้ น้ำหนักตัวลด
5. กระวนกระวาย อยู่ไม่สุข วิตกกังวลตลอดเวลา หรือว่าเชื่องช้าลง เช่นการนั่งซึมๆทั้งวัน ไม่ขยับไปไหน
6. รู้สึกอ่อนเพลีย ไม่มีแรงตลอดเวลา
7. มีความคิดในเชิงลบ รู้สึกผิด โทษตัวเองตลอดเวลา
8. สมาธิลดลง ใจลอย
9. ข้อนี้อันตรายสุด ถ้าเป็นมากๆ จะมีความคิดที่ท้อแท้ชีวิต คิดว่าตัวเองไร้ค่า คิดสั้น อยากฆ่าตัวตายตลอดเวลา
สาเหตุของอาการโรคซึมเศร้า
เกิดจากความไม่สมดุลของสารสื่อประสาท ซึ่งสารเหล่านี้เนี่ย มันมีหน้าที่ในการควบคุมดูแลอารมณ์ของเราได้เป็นปกติ ถ้าหากสารเหล่านี้เสียสมดุลย์แล้วเนี่ย อารมณ์ของเราก็จะผิดแปลกไปจากปกติ
วิธีป้องกัน และรักษาโรคซึมเศร้า
ก่อนอื่นต้องยอมรับก่อนว่า เราเป็นโรคซึมเศร้านี้ เมื่อเราคิดว่าเรามีอาการที่บ่งชี้ว่าจะเป็นโรคซึมเศร้า ควรจะรีบไปพบแพทย์เพื่อปรึกษาและเข้ารับการรักษาให้ทันท่วงที
แพทย์มักจะให้ยาต้านเศร้ามาให้เรารับประทาน ยาจะมีผลในการปรับสมดุลให้กับสารเคมีในสมอง และมีการพูดคุยเพื่อการบำบัดรักษาโรค หรือเป็นการทำจิตบำบัดก็ว่าได้

See also  A Roma tornano in piazza i No green pass. Dicevano \"Saremo un milione\", al Circo Massimo sono 3mila | piazza

โรคซึมเศร้าที่เกิดขึ้นในผู้ชาย
ว่ากันว่าจำนวนของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่เป็นผู้ชายจะพบได้น้อยกว่าผู้หญิง แต่น่าแปลกที่อัตราการฆ่าตัวตายในผู้ชายมีมากกว่า ซึ่งเมื่อเพศชายป่วยเป็นโรคซึมเศร้าแล้ว โอกาสเสี่ยงที่จะเป็นโรคหัวใจก็มีสูงมาก ส่วนใหญ่มักใช้ยาเสพติดและเครื่องที่มีแอลกอฮอล์เป็นตัวช่วยแก้ปัญหาภาวะซึมเศร้านั้น บางรายก็ตั้งหน้าตั้งตาทำงานให้หนัก ถึงแม้จะหงุดหงิดง่าย โกรธง่าย แต่ก็ไม่เคยท้อแท้ หรือสิ้นหวังเลยแม้แต่น้อย จึงเป็นการยากที่แพทย์จะวินิจฉัยโรคนี้ได้ ทั้งที่รู้กันอยู่แล้วว่าผู้ป่วยมักจะปฏิเสธการรักษาอยู่เสมอ

โรคซึมเศร้าที่เกิดขึ้นในผู้หญิง
จากตรวจพบก็ทำให้รู้ว่าในผู้หญิงนั้นเป็นโรคซึมเศร้าในจำนวนที่มากกว่าผู้ชายถึง 2 เท่า ซึ่งเชื่อว่าเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมน อาทิ มีประจำเดือน , การตั้งครรภ์ , ภาวะหลังคลอด หรือการเข้าสู่วัยทอง อีกทั้งในชีวิตของพวกเขายังจะต้องรับผิดชอบในหลายๆ อย่าง ทั้งในบ้านและนอกบ้าน ทำให้เกิดความเครียด ในการรักษาก็ทำได้แค่ให้เข้ากำลังใจและทำความเข้าใจกับผู้ป่วยให้มากที่สุด

โรคซึมเศร้าที่เกิดขึ้นในเด็ก
ไม่ใช่แค่วัยผู้ใหญ่เท่านั้นที่เสี่ยงเป็นโรคซึมเศร้า แต่ในเด็กโอกาสที่จะเกิดโรคนี้ก็มีเช่นกัน อาการที่สังเกตเห็นได้ในเด็กเล็ก อาทิ ไม่ไปโรงเรียน , แกล้งทำเป็นป่วย , ติดพ่อแม่ หรือเป็นกังวลกลัวว่าพ่อแม่จะเสียชีวิต ส่วนในเด็กโตก็จะมีอาการเงียบ ไม่ยอมพูดยอมจา , มักมีปัญหาที่โรงเรียน , มองโลกในแง่ร้าย
ซึ่งการวินิจฉัยโรคซึมเศร้าในเด็กนี้ก็ทำได้ยากเช่นเดียวกัน เนื่องจากอารมณ์ของเด็กมีความเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด ฉะนั้น พ่อแม่ที่อยู่ใกล้ชิดต้องคอยเป็นผู้สังเกตว่าพฤติกรรมของเด็กเปลี่ยนไปหรือไม่ ถ้าเกิดมีความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นและเป็นไปตามอาการของโรคซึมเศ้รา ก็ควรจะเดินทางไปพบกุมารแพทย์เพื่อคำปรึกษาและส่งตัวเด็กเข้ารับพิจารณาการรักษา

โรคซึมเศร้าที่เกิดขึ้นในผู้สูงอายุ
แล้วการเข้าสู่วัยทองนั้นมักทำให้อารมณ์ผกผันไม่เป็นปกติ ซึ่งคนส่วนใหญ่เข้าใจว่าเป็นเรื่องธรรมดาของคนวัยนี้ แต่ในความเป็นจริงแล้วกลับไม่ใช่เสียทั้งหมด เพราะผู้ป่วยส่วนใหญ่จะแสดงอาการออกทางกายซะมาก โดยตัวยาที่ใช้ก็จะมีผลข้างเคียงที่ทำให้เกิดอาการของโรคซึมเศร้าได้เช่นกัน หากส่งตัวเข้ารับการวินิจฉัยและรักษา ก็จะทำให้การใช้ชีวิตของผู้ป่วยในวัยนี้มีความสุขอย่างแน่นอน

 คนป่วยที่เป็นโรคซึมเศร้า เค้าไม่ได้อยากไม่สู้ชีวิต แต่เค้ามีความผิดปกติของสมองทำให้มองโลกในแง่ลบ ผู้ใกล้ชิดควรให้กำลังใจ และแนะนำว่า โรคซึมเศร้าสามารถรักษาให้อาการดีขึ้นได้นะครับ ในบางรายสามารถรักษาได้จนหายก็มี โรคซึมเศร้าไม่ได้เป็นโรคที่หมดหนทางรักษานะครับ ล่าสุดโรคซึมเศร้าเป็นแล้วรักษาได้ ไม่เสียค่าใช้จ่าย เนื่องจากสิทธิรักษาพยาบาล บัตรทองประกันสังคมข้าราชการ คุ้มครองการรักษาทั้งหมด
และหากท่านมีอาการที่จะเสี่ยงเป็นโรคซึมเศร้า หรือสังเกตเห็นคนรอบข้างมีแนวโน้มของอาการดังกล่าว
เบอร์โทรสายด่วน กรมสุขภาพจิต โทร 1323
depress we care โรงพยาบาลตำรวจ 0819320000
โรคซึมเศร้า depressionคือ อาการโรคซึมเศร้า
Credit Photo Clip by:
https://pixabay.com
https://www.pexels.com
https://unsplash.com

📌กดติดตามเพื่อรับชมคลิปใหม่ๆ ►► http://bit.ly/subHealthyToy

9 วิธีสังเกต อาการโรคซึมเศร้า ด้วยตัวเอง c]t มีวิธีรักษาโรคซึมเศร้าด้วยตัวเองหรือไม่?

“โรคซึมเศร้าหลังคลอด” ภาวะที่คุณแม่มือใหม่มีโอกาสพบเจอ : พบหมอรามา ช่วง Big Story 20 มิ.ย.60(2/5)


See also  [NEW] | อาหารประจําชาติ ประเทศลาว - Sonduongpaper

Big Story
“โรคซึมเศร้าหลังคลอด” ภาวะที่คุณแม่มือใหม่มีโอกาสพบเจอ
ศ.นพ.มาโนช หล่อตระกูล
ภาควิชาจิตเวชศาสตร์
ออกอากาศเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ.2560
ติดตามรายการได้ทุกวันจันทร์ศุกร์
ออกอากาศสดผ่าน Facebook Fanpage เวลา 17.00 19.00 น.
โดยคุณผู้ชมสามารถรับชมรามาแชนแนลได้ที่ช่อง True Visions 42 หรือ
ทางเว็บไซต์ www.ramachannel.tv และ www.youtube.com/ramachanneltv

“โรคซึมเศร้าหลังคลอด” ภาวะที่คุณแม่มือใหม่มีโอกาสพบเจอ : พบหมอรามา ช่วง Big Story 20 มิ.ย.60(2/5)

โรคซึมเศร้า ภัยเงียบทำลายจิตใจ : พบหมอมหิดล [by Mahidol]


ในสังคมปัจจุบันทุกคนมีความเครียดสูงมากขึ้น ทั้งในเรื่องงานหรือจากเรื่องส่วนตัว ทำให้ผู้ป่วยจากโรคซึมเศร้ามีปริมาณเพิ่มมากขึ้น และที่น่าตกใจ สาเหตุการฆ่าตัวตายในประเทศไทยส่วนหนึ่ง มีสาเหตุจากอาการป่วยด้วยโรคซึมเศร้า อ.พญ.กิติกานต์ ธนะอุดม ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะเเพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล จะมาอธิบายเกี่ยวกับผู้ป่วยโรคซึมเศร้าให้เราเข้าใจมากขึ้น
สายด่วนสุขภาพจิตโทร. 1323
ช่อง YouTube : Mahidol Channel : http://www.youtube.com/mahidolchannel
Facebook : http://www.facebook.com/mahidolchannel
Mahidol University มหาวิทยาลัยมหิดล : https://www.mahidol.ac.th/th
Website | https://channel.mahidol.ac.th/

โรคซึมเศร้า ภัยเงียบทำลายจิตใจ : พบหมอมหิดล [by Mahidol]

พบหมอรามาฯ : “โรคซึมเศร้า” หายได้ถ้ารักษา : Rama Health Talk (ช่วงที่ 2) 18.10.2562


พบหมอรามาฯ ช่วง Rama Health Talk (ช่วงที่ 2)
“โรคซึมเศร้า” หายได้ถ้ารักษา
แขกรับเชิญ : รศ. นพ.ศิริไชย หงษ์สงวนศรี ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ออกอากาศวันที่ 18 ตุลาคม 2562
พบหมอรามาฯ RamaHealthTalk
ติดตามชมรายการ \”พบหมอรามาฯ\” พบกับช่วง \”คุยข่าวเม้าท์กับหมอ\” อัพเดทข่าวสารเรื่องสุขภาพโรคภัยไข้เจ็บ และ ช่วง \” Rama Health Talk\” เรื่องราวสุขภาพที่จะทำให้คุณมีสุขภาพที่ดี ทุกวันจันทร์ วันศุกร์ เวลา 15.3016.30 น. ทาง True Visions42 และ YouTube Rama Channel
ติดตาม Rama Channel ได้ทาง
ติดตามชมรายการต่าง ๆ ของรามาแชนแนลได้ทาง 
Facebook: Rama Channel
YouTube: Rama Channel TV
Website : RamaChannel.tv
True Visions 42
True ID Mobile Application

พบหมอรามาฯ : “โรคซึมเศร้า” หายได้ถ้ารักษา : Rama Health Talk (ช่วงที่ 2)  18.10.2562

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆWiki

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ โรค ซึม เศร้า มี อาการ อย่างไร

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *