กินอาหารวันละมื้อ: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้
ทุกคนเคยสงสัยมั้ยครับ ว่าคนเราควรกินข้าวกี่มื้อดี และกินสารอาหารไหนตอนกี่โมง ถึงจะทำให้เราฟิตที่สุด วันนี้เรามาหาคำตอบกัน!
กินกี่มื้อ VS กินมื้อละเยอะแค่ไหน (ทั้งวันกินมากแค่ไหน?)
ร่างกายมนุษย์เรา ทำงานตามหลักทฤษฎี Law of thermodynamic หรือถ้าให้อธิบายง่ายๆ คือ พลังงานที่เราได้รับ กับพลังงานที่เราใช้ไปนั้น มีสมการง่ายๆ คือ
- ถ้ากินเยอะกว่าที่ใช้ ก็เก็บสะสมพลังงาน (มีวงเล็บ จะอ้วนไขมันขึ้น หรือกล้ามขึ้น ก็ขึ้นอยู่กับว่าคุณทำอะไร)
- ถ้ากินน้อยกว่าที่ใช้ ก็ผอมลง (มีวงเล็บ จะผอมลงเพราะเสียกล้าม หรือเสียไขมัน ก็ขึ้นอยู่กับว่าคุณทำอะไร)
ซึ่งจริงๆแล้ว การกิน (รับพลังงาน) ไม่ว่าเราจะกินมันเวลาไหน หรือแบ่งเป็นกี่มื้อ สุดท้ายแล้วก็ต้องตามกฏนี้เป็นหลักอยู่ดีครับ
แล้ว Nutrient timing มันคืออะไร
Nutrient Timing คือกลยุทธ์ในการเลือกทานอาหาร ปรับเปลี่ยนสารอาหารให้ถูกที่ถูกเวลา ตามเป้าหมายของเรา เช่น การแบ่งอาหารออกเป็นหลายๆ มื้อ , การทานอาหารก่อนออกกำลังกาย และการทานอาหารหลังออกกำลังกาย
มันช่วยอะไรได้บ้าง ?
- เพื่อสุขภาพที่ดี (general health)
- พัฒนารูปร่าง (body composition)
- พัฒนาสมรรถภาพของนักกีฬา (sports performance)
- เพิ่มประสิทธิภาพในการฟื้นฟูร่างกาย (recovery)
ซึ่ง Nutrient timing นี้จะสอดคล้องและสัมพันธ์กับความต้องการพลังงาน (Energy Demand) ในแต่ละกิจกรรมและอาหารที่เรารับประทานเข้าไป ในตลอดทั้งวัน รวมถึงเป้าหมายของเราด้วย
ความต้องการพลังงานก็คือ ความหนักของกิจกรรมหรือการออกกำลังกาย ในขณะนั้น หากมีความต้องการพลังงานมาก และต้องการในทันที อาหารที่จะทานเข้าไปก็จะต้องย่อยได้เร็ว ในพลังงานได้ในทันที หรือหากมีความต้องการพลังงานน้อย เช่น นั่งทำงานเฉยๆ อ่านหนังสือ อาหารที่จะทานเข้าไปก็ไม่จำเป็นต้องย่อยเร็ว แต่ควรจะเป็นอาหารที่สามารถอยู่ท้องได้นานๆ เป็นต้น
การแบ่งอาหารออกเป็นมื้อย่อยๆ จะช่วยในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี เพราะในแต่ละมื้ออาหารจะมีปริมาณที่น้อยลงทำให้ ย่อยออกมาเป็นน้ำตาลในปริมาณที่น้อยลง
ส่งผลให้อินซูลินหลั่งออกมาในปริมาณที่น้อยลงเช่นกัน ทำให้มีแนวโน้มว่าการเก็บไขมันบริเวณท้องและเอวน้อยลงไปด้วย
หรือจะเป็นการเลือกทานอาหารหรือคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน มีค่า Glycemic Index ต่ำ ก็เป็นส่วนหนึ่งของ Nutrient Timing เช่นกัน ส่งผลคล้ายกับการแบ่งมื้ออาหารเป็นมื้อย่อย ๆ ช่วยให้น้ำตาลในเลือดไม่ขึ้นลงเร็ว มีพลังงานพร้อมใช้ตลอดเวลา
แล้ว Nutrient Timing เหมาะกับใคร?
จากงานวิจัยที่ผ่านมา ตั้งแต่ปี 2000 ยังมีข้อจำกัดอยู่บ้าง
1.ส่วนใหญ่งานวิจัยจะทำวิจัยในช่วงเวลาสั้นๆ — ไม่กี่สัปดาห์ เพียงไม่กี่เดือน หรืออาจจะเพียง ไม่กี่ครั้งของการออกกำลังกาย
2.ส่วนใหญ่พิจารณาผลที่ค่อนข้างลึก (soft end-point) เช่น การสังเคราะห์โปรตีน , การลดลงของไกลโคเจน , หรือ สมดุลของไนโตรเจน เพราะฉะนั้น ทำให้ไม่ทราบถึงผลการวิจัยที่จำต้องได้( Hard end-point ) เช่น ปริมาณไขมันที่ลดลง หรือ ปริมาณที่เพิ่มขึ้นของกล้ามเนื้อ แต่อย่างไรก็ตาม ไม่มีวิจัยไหนยอดเยี่ยมที่สุดอยู่แล้ว (เพราะการทำงานวิจัยนั้นมันไม่ง่าย!)
เจ้า Nutrient Timing ก็ยังคงมีประโยชน์อยู่ ซึ่งจะมากน้อยแค่ไหนนั้นขึ้นอยู่กับตัวคุณเลยครับ !!
ถ้าคุณคือ นักเพาะกาย หรือ นักกีฬาประเภทใช้ความอดทน (endurance athletes) หรือนักกีฬาประเภทอื่นๆก็ตาม การใช้ Nutrient Timing จะมีความหมายขึ้นมาทันที มากกว่า พนักงานออฟฟิศ หรือคนทั่วไป แน่นอน
“Nutrient Timing ค่อนข้างจะสำคัญกับ คนที่มีประสบการณ์กับการออกกำลังกายและการกินมานานแล้ว หรือคนที่มีการซ้อมกีฬาหรือออกกำลังกายหลายครั้งต่อวัน
บางคนหุ่นดีแล้ว ไขมันน้อย ออกกำลังกายมาเป็นปีๆแล้ว หรือใครอยากลงแข่งมาราธอน นักกีฬาที่ฝึกซ้อมวันละหลายๆรอบ หรือเป็นนักกีฬาที่ต้องใช้น้ำหนักในการแข่งขัน คนเหล่านี้อาจจะต้องใช้เวลาในการซ้อมหลายชม. การใช้ Nutrient Timing เช่น การแบ่งอาหารเป็นมื้อย่อยๆ การทำ Carbohydrate Loading การจิบเวย์โปรตีน หรือ Sport Drink ต่างๆก็เป็นสิ่งจำเป็น
สำหรับคนที่พึ่งเริ่มออกกำลังกาย อาจจะไม่มีผลอะไรมากหนักหาก เริ่มใช้ Nutrient Timing ในทันที เพราะ
1. เราควรจะเรียนรู้ หรือฝึกการทานอาหารให้ครบตามแคลอรี่ที่ควรได้รับก่อน
2. ปรับตัวให้สามารถออกกำลังกายได้อย่างสม่ำเสมอก่อน
หากต้องมาปรับตัวหรือเพิ่มการจัดการตัวเองกับการกินตามเวลา หรือตามมื้อที่แบ่งไว้แล้วหากทำไม่ได้ ก็อาจจะท้อและล้มเลิกไปได้
สุดท้ายแล้วอยากจะสรุปว่า ให้สังเกตตัวเราครับ ลองใช้เทคนิคในหลายๆแบบ หาดูว่าแบบใดเหมาะกับเรา เหมาะกับเป้าหมายเรา และเราสามารถทำมันได้ไปตลอด นั้นคือวิธีที่ดีที่สุดครับ
สรุป
จากประสปการณ์ส่วนตัว 14 ปีที่ผ่านมา ผมเคยทำมาแทบทุกรูปแบบการทำ Nutrient Timing ไม่ว่าจะเป็น
- อดข้าวเย็น (แย่มาก)
- Carb Loading (กินแป้งเยอะๆ เยอะมากๆ ในบางวัน)
- Carb Cycling (กินแป้งเยอะสลับน้อย เยอะ เช่น 3 วัน Low 4 วัน High Carbs)
- Intermittent Fasting (อดอาหารวันละ 16 ชั่วโมง และกินภายใน 8 ชั่วโมง)
- Carb Backloading (อดแป้งทั้งวัน และกินแป้งตอนกลางคืน)
- ปัจจุบัน ทำสิ่งที่เรียกว่า Intuitive Eating (ไว้มาเขียนเป็นบทความในโอกาสหน้า)
ขอสรุปให้สั้นๆเลยครับ ว่าคุณหลอกร่างกายไม่ได้ และหากไม่มีเหตุจำเป็น อย่าไปทำให้ชีวิตยุ่งยาก เพราะ 14 ปีที่ผ่านมา ผมไม่ใช่นักกีฬาอาชีพ ดังนั้นที่ทำมาทั้งหมด แทบจะได้ผลทุกทาง หากว่าเรากินพอดีๆ และออกกำลังกายพอดีๆ (อดข้าวเย็นไม่ได้ผล ไม่แนะนำ) แต่ที่สำคัญคือ กินเวลาไหน กี่มื้อ สะดวกเราที่สุดต่างหาก เอาที่สะดวก และพอดีครับ
Reference
1.Aragon AA, Schoenfeld BJ. Nutrient timing revisited: is there a post-exercise anabolic window? J Int Soc Sports Nutr. 2013 Jan 29;10(1):5.
2.Aragon AA. Continuum of nutrient timing importance (original schematic). NSCA Personal Trainers Conference. April 2012.
3.Astbury NM, Taylor MA, Macdonald IA. Breakfast consumption affects appetite, energy intake, and the metabolic and endocrine responses to foods consumed later in the day in male habitual breakfast eaters. J Nutr. 2011 Jul;141(7):1381-9.
4.Brown AW, et al. Belief beyond the evidence: using the proposed effect of breakfast on obesity to show 2 practices that distort scientific evidence. Am J Clin Nutr. 2013 Nov;98(5):1298-308.
5.Cribb PJ, Hayes A. Effects of supplement timing and resistance exercise on skeletal muscle hypertrophy. Med Sci Sports Exerc. 2006 Nov;38(11):1918-25.
6.Fernemark H, et al. A Randomized Cross-Over Trial of the Postprandial Effects of Three Different Diets in Patients with Type 2 Diabetes. PLoS One. 2013; 8(11): e79324.
7.Frape D, et al. Diurnal trends in responses of blood plasma concentrations of glucose, insulin, and C-peptide following high- and Low-fat meals and their relation to fat metabolism in healthy middle aged volunteers. Br J Nutr. 1997;77(4):523-535.
8.Garaulet M, Gómez-Abellán P, Alburquerque-Béjar JJ, Lee YC, Ordovás JM, Scheer FA. Timing of food intake predicts weight loss effectiveness. Int J Obes (Lond). 2013 Apr;37(4):604-11.
9.Grabner W, et al. Diurnal variation of glucose tolerance and insulin secretion in man. Klin Wochenschr. 1975;53(16):773-8.
Ho KY, et al. Fasting enhances growth hormone secretion and amplifies the complex rhythms of growth hormone secretion in man. J Clin Invest. 1988 April; 81(4): 968–975.
10.Hoffman JR, et al. Effect of protein-supplement timing on strength, power, and body-composition changes in resistance-trained men. Int J Sport Nutr Exerc Metab. 2009 Apr;19(2):172-85.
11.Hoyland A, Dye L, Lawton CL. A systematic review of the effect of breakfast on the cognitive performance of children and adolescents. Nutr Res Rev. 2009 Dec;22(2):220-43.
12.Ivy J, Portman R: Nutrient Timing: The Future of Sports Nutrition. North Bergen, NJ: Basic Health Publications; 2004.
Jakubowicz D, et al. High caloric intake at breakfast vs. dinner differentially influences weight loss of overweight and obese women. Obesity (Silver Spring). 2013. Dec;21(12):2504-12.
13.Jakubowicz D, et al. Meal timing and composition influence ghrelin levels, appetite scores and weight loss maintenance in overweight and obese adults. Steroids. 2012 Mar 10;77(4):323-31.
14.Keim NL, et al. Weight loss is greater with consumption of large morning meals and fat-free mass is preserved with large evening meals in women on a controlled weight reduction regimen. J Nutr. 1997 Jan;127(1):75-82.
La Bounty PM, et al. International Society of Sports Nutrition position stand: meal frequency. J Inter Soc Sports Nutr. 2011, 8:4.
15.Lee, A., et al. Diurnal variation in glucose tolerance. Cyclic suppression of insulin action and insulin secretion in normal-weight but not obese subjects. Diabetes. 1992;41(6): 742-749.
16.Levitsky DA, Pacanowski CR. Effect of skipping breakfast on subsequent energy intake. Physiol Behav. 2013 Jul 2;119:9-16.
Mattson MP, Wan R. Beneficial effects of intermittent fasting and caloric restriction on the cardiovascular and cerebrovascular systems. J Nutr Biochem. 2005 Mar;16(3):129-37.
17.Pereira MA, et al. Breakfast Frequency and Quality May Affect Glycemia and Appetite in Adults and Children. J Nutr. 2011 January; 141(1): 163–168.
18.Schlundt DG, et al. The role of breakfast in the treatment of obesity: a randomized clinical trial. Am J Clin Nutr. 1992 Mar;55(3):645-51.
19.Schlundt DG, et al. The role of breakfast in the treatment of obesity: a randomized clinical trial. Am J Clin Nutr. 1992 Mar;55(3):645-51.
20.Schoenfeld BJ, Aragon AA, Krieger JW. The effect of protein timing on muscle strength and hypertrophy: a meta-analysis. J Int Soc Sports Nutr. 2013 Dec 3;10(1):53.
21.Sensi S, Capani F. Chronobiological aspects of weight loss in obesity: effects of different meal timing regimens. Chronobiol Int. 1987;4(2):251-61.
22.Sofer S, et al. Greater weight loss and hormonal changes after 6 months diet with carbohydrates eaten mostly at dinner. Obesity (Silver Spring). 2011 Oct;19(10):2006-14.
23.Szajewska H, Ruszczynski M. Systematic review demonstrating that breakfast consumption influences body weight outcomes in children and adolescents in Europe. Crit Rev Food Sci Nutr. 2010 Feb;50(2):113-9.
[Update] Fit Science: กินกี่มื้อ เวลาไหน ทำให้ฟิตที่สุด? ว่าด้วย Nutrient Timing | กินอาหารวันละมื้อ – Sonduongpaper
ทุกคนเคยสงสัยมั้ยครับ ว่าคนเราควรกินข้าวกี่มื้อดี และกินสารอาหารไหนตอนกี่โมง ถึงจะทำให้เราฟิตที่สุด วันนี้เรามาหาคำตอบกัน!
กินกี่มื้อ VS กินมื้อละเยอะแค่ไหน (ทั้งวันกินมากแค่ไหน?)
ร่างกายมนุษย์เรา ทำงานตามหลักทฤษฎี Law of thermodynamic หรือถ้าให้อธิบายง่ายๆ คือ พลังงานที่เราได้รับ กับพลังงานที่เราใช้ไปนั้น มีสมการง่ายๆ คือ
- ถ้ากินเยอะกว่าที่ใช้ ก็เก็บสะสมพลังงาน (มีวงเล็บ จะอ้วนไขมันขึ้น หรือกล้ามขึ้น ก็ขึ้นอยู่กับว่าคุณทำอะไร)
- ถ้ากินน้อยกว่าที่ใช้ ก็ผอมลง (มีวงเล็บ จะผอมลงเพราะเสียกล้าม หรือเสียไขมัน ก็ขึ้นอยู่กับว่าคุณทำอะไร)
ซึ่งจริงๆแล้ว การกิน (รับพลังงาน) ไม่ว่าเราจะกินมันเวลาไหน หรือแบ่งเป็นกี่มื้อ สุดท้ายแล้วก็ต้องตามกฏนี้เป็นหลักอยู่ดีครับ
แล้ว Nutrient timing มันคืออะไร
Nutrient Timing คือกลยุทธ์ในการเลือกทานอาหาร ปรับเปลี่ยนสารอาหารให้ถูกที่ถูกเวลา ตามเป้าหมายของเรา เช่น การแบ่งอาหารออกเป็นหลายๆ มื้อ , การทานอาหารก่อนออกกำลังกาย และการทานอาหารหลังออกกำลังกาย
มันช่วยอะไรได้บ้าง ?
- เพื่อสุขภาพที่ดี (general health)
- พัฒนารูปร่าง (body composition)
- พัฒนาสมรรถภาพของนักกีฬา (sports performance)
- เพิ่มประสิทธิภาพในการฟื้นฟูร่างกาย (recovery)
ซึ่ง Nutrient timing นี้จะสอดคล้องและสัมพันธ์กับความต้องการพลังงาน (Energy Demand) ในแต่ละกิจกรรมและอาหารที่เรารับประทานเข้าไป ในตลอดทั้งวัน รวมถึงเป้าหมายของเราด้วย
ความต้องการพลังงานก็คือ ความหนักของกิจกรรมหรือการออกกำลังกาย ในขณะนั้น หากมีความต้องการพลังงานมาก และต้องการในทันที อาหารที่จะทานเข้าไปก็จะต้องย่อยได้เร็ว ในพลังงานได้ในทันที หรือหากมีความต้องการพลังงานน้อย เช่น นั่งทำงานเฉยๆ อ่านหนังสือ อาหารที่จะทานเข้าไปก็ไม่จำเป็นต้องย่อยเร็ว แต่ควรจะเป็นอาหารที่สามารถอยู่ท้องได้นานๆ เป็นต้น
การแบ่งอาหารออกเป็นมื้อย่อยๆ จะช่วยในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี เพราะในแต่ละมื้ออาหารจะมีปริมาณที่น้อยลงทำให้ ย่อยออกมาเป็นน้ำตาลในปริมาณที่น้อยลง
ส่งผลให้อินซูลินหลั่งออกมาในปริมาณที่น้อยลงเช่นกัน ทำให้มีแนวโน้มว่าการเก็บไขมันบริเวณท้องและเอวน้อยลงไปด้วย
หรือจะเป็นการเลือกทานอาหารหรือคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน มีค่า Glycemic Index ต่ำ ก็เป็นส่วนหนึ่งของ Nutrient Timing เช่นกัน ส่งผลคล้ายกับการแบ่งมื้ออาหารเป็นมื้อย่อย ๆ ช่วยให้น้ำตาลในเลือดไม่ขึ้นลงเร็ว มีพลังงานพร้อมใช้ตลอดเวลา
แล้ว Nutrient Timing เหมาะกับใคร?
จากงานวิจัยที่ผ่านมา ตั้งแต่ปี 2000 ยังมีข้อจำกัดอยู่บ้าง
1.ส่วนใหญ่งานวิจัยจะทำวิจัยในช่วงเวลาสั้นๆ — ไม่กี่สัปดาห์ เพียงไม่กี่เดือน หรืออาจจะเพียง ไม่กี่ครั้งของการออกกำลังกาย
2.ส่วนใหญ่พิจารณาผลที่ค่อนข้างลึก (soft end-point) เช่น การสังเคราะห์โปรตีน , การลดลงของไกลโคเจน , หรือ สมดุลของไนโตรเจน เพราะฉะนั้น ทำให้ไม่ทราบถึงผลการวิจัยที่จำต้องได้( Hard end-point ) เช่น ปริมาณไขมันที่ลดลง หรือ ปริมาณที่เพิ่มขึ้นของกล้ามเนื้อ แต่อย่างไรก็ตาม ไม่มีวิจัยไหนยอดเยี่ยมที่สุดอยู่แล้ว (เพราะการทำงานวิจัยนั้นมันไม่ง่าย!)
เจ้า Nutrient Timing ก็ยังคงมีประโยชน์อยู่ ซึ่งจะมากน้อยแค่ไหนนั้นขึ้นอยู่กับตัวคุณเลยครับ !!
ถ้าคุณคือ นักเพาะกาย หรือ นักกีฬาประเภทใช้ความอดทน (endurance athletes) หรือนักกีฬาประเภทอื่นๆก็ตาม การใช้ Nutrient Timing จะมีความหมายขึ้นมาทันที มากกว่า พนักงานออฟฟิศ หรือคนทั่วไป แน่นอน
“Nutrient Timing ค่อนข้างจะสำคัญกับ คนที่มีประสบการณ์กับการออกกำลังกายและการกินมานานแล้ว หรือคนที่มีการซ้อมกีฬาหรือออกกำลังกายหลายครั้งต่อวัน
บางคนหุ่นดีแล้ว ไขมันน้อย ออกกำลังกายมาเป็นปีๆแล้ว หรือใครอยากลงแข่งมาราธอน นักกีฬาที่ฝึกซ้อมวันละหลายๆรอบ หรือเป็นนักกีฬาที่ต้องใช้น้ำหนักในการแข่งขัน คนเหล่านี้อาจจะต้องใช้เวลาในการซ้อมหลายชม. การใช้ Nutrient Timing เช่น การแบ่งอาหารเป็นมื้อย่อยๆ การทำ Carbohydrate Loading การจิบเวย์โปรตีน หรือ Sport Drink ต่างๆก็เป็นสิ่งจำเป็น
สำหรับคนที่พึ่งเริ่มออกกำลังกาย อาจจะไม่มีผลอะไรมากหนักหาก เริ่มใช้ Nutrient Timing ในทันที เพราะ
1. เราควรจะเรียนรู้ หรือฝึกการทานอาหารให้ครบตามแคลอรี่ที่ควรได้รับก่อน
2. ปรับตัวให้สามารถออกกำลังกายได้อย่างสม่ำเสมอก่อน
หากต้องมาปรับตัวหรือเพิ่มการจัดการตัวเองกับการกินตามเวลา หรือตามมื้อที่แบ่งไว้แล้วหากทำไม่ได้ ก็อาจจะท้อและล้มเลิกไปได้
สุดท้ายแล้วอยากจะสรุปว่า ให้สังเกตตัวเราครับ ลองใช้เทคนิคในหลายๆแบบ หาดูว่าแบบใดเหมาะกับเรา เหมาะกับเป้าหมายเรา และเราสามารถทำมันได้ไปตลอด นั้นคือวิธีที่ดีที่สุดครับ
สรุป
จากประสปการณ์ส่วนตัว 14 ปีที่ผ่านมา ผมเคยทำมาแทบทุกรูปแบบการทำ Nutrient Timing ไม่ว่าจะเป็น
- อดข้าวเย็น (แย่มาก)
- Carb Loading (กินแป้งเยอะๆ เยอะมากๆ ในบางวัน)
- Carb Cycling (กินแป้งเยอะสลับน้อย เยอะ เช่น 3 วัน Low 4 วัน High Carbs)
- Intermittent Fasting (อดอาหารวันละ 16 ชั่วโมง และกินภายใน 8 ชั่วโมง)
- Carb Backloading (อดแป้งทั้งวัน และกินแป้งตอนกลางคืน)
- ปัจจุบัน ทำสิ่งที่เรียกว่า Intuitive Eating (ไว้มาเขียนเป็นบทความในโอกาสหน้า)
ขอสรุปให้สั้นๆเลยครับ ว่าคุณหลอกร่างกายไม่ได้ และหากไม่มีเหตุจำเป็น อย่าไปทำให้ชีวิตยุ่งยาก เพราะ 14 ปีที่ผ่านมา ผมไม่ใช่นักกีฬาอาชีพ ดังนั้นที่ทำมาทั้งหมด แทบจะได้ผลทุกทาง หากว่าเรากินพอดีๆ และออกกำลังกายพอดีๆ (อดข้าวเย็นไม่ได้ผล ไม่แนะนำ) แต่ที่สำคัญคือ กินเวลาไหน กี่มื้อ สะดวกเราที่สุดต่างหาก เอาที่สะดวก และพอดีครับ
Reference
1.Aragon AA, Schoenfeld BJ. Nutrient timing revisited: is there a post-exercise anabolic window? J Int Soc Sports Nutr. 2013 Jan 29;10(1):5.
2.Aragon AA. Continuum of nutrient timing importance (original schematic). NSCA Personal Trainers Conference. April 2012.
3.Astbury NM, Taylor MA, Macdonald IA. Breakfast consumption affects appetite, energy intake, and the metabolic and endocrine responses to foods consumed later in the day in male habitual breakfast eaters. J Nutr. 2011 Jul;141(7):1381-9.
4.Brown AW, et al. Belief beyond the evidence: using the proposed effect of breakfast on obesity to show 2 practices that distort scientific evidence. Am J Clin Nutr. 2013 Nov;98(5):1298-308.
5.Cribb PJ, Hayes A. Effects of supplement timing and resistance exercise on skeletal muscle hypertrophy. Med Sci Sports Exerc. 2006 Nov;38(11):1918-25.
6.Fernemark H, et al. A Randomized Cross-Over Trial of the Postprandial Effects of Three Different Diets in Patients with Type 2 Diabetes. PLoS One. 2013; 8(11): e79324.
7.Frape D, et al. Diurnal trends in responses of blood plasma concentrations of glucose, insulin, and C-peptide following high- and Low-fat meals and their relation to fat metabolism in healthy middle aged volunteers. Br J Nutr. 1997;77(4):523-535.
8.Garaulet M, Gómez-Abellán P, Alburquerque-Béjar JJ, Lee YC, Ordovás JM, Scheer FA. Timing of food intake predicts weight loss effectiveness. Int J Obes (Lond). 2013 Apr;37(4):604-11.
9.Grabner W, et al. Diurnal variation of glucose tolerance and insulin secretion in man. Klin Wochenschr. 1975;53(16):773-8.
Ho KY, et al. Fasting enhances growth hormone secretion and amplifies the complex rhythms of growth hormone secretion in man. J Clin Invest. 1988 April; 81(4): 968–975.
10.Hoffman JR, et al. Effect of protein-supplement timing on strength, power, and body-composition changes in resistance-trained men. Int J Sport Nutr Exerc Metab. 2009 Apr;19(2):172-85.
11.Hoyland A, Dye L, Lawton CL. A systematic review of the effect of breakfast on the cognitive performance of children and adolescents. Nutr Res Rev. 2009 Dec;22(2):220-43.
12.Ivy J, Portman R: Nutrient Timing: The Future of Sports Nutrition. North Bergen, NJ: Basic Health Publications; 2004.
Jakubowicz D, et al. High caloric intake at breakfast vs. dinner differentially influences weight loss of overweight and obese women. Obesity (Silver Spring). 2013. Dec;21(12):2504-12.
13.Jakubowicz D, et al. Meal timing and composition influence ghrelin levels, appetite scores and weight loss maintenance in overweight and obese adults. Steroids. 2012 Mar 10;77(4):323-31.
14.Keim NL, et al. Weight loss is greater with consumption of large morning meals and fat-free mass is preserved with large evening meals in women on a controlled weight reduction regimen. J Nutr. 1997 Jan;127(1):75-82.
La Bounty PM, et al. International Society of Sports Nutrition position stand: meal frequency. J Inter Soc Sports Nutr. 2011, 8:4.
15.Lee, A., et al. Diurnal variation in glucose tolerance. Cyclic suppression of insulin action and insulin secretion in normal-weight but not obese subjects. Diabetes. 1992;41(6): 742-749.
16.Levitsky DA, Pacanowski CR. Effect of skipping breakfast on subsequent energy intake. Physiol Behav. 2013 Jul 2;119:9-16.
Mattson MP, Wan R. Beneficial effects of intermittent fasting and caloric restriction on the cardiovascular and cerebrovascular systems. J Nutr Biochem. 2005 Mar;16(3):129-37.
17.Pereira MA, et al. Breakfast Frequency and Quality May Affect Glycemia and Appetite in Adults and Children. J Nutr. 2011 January; 141(1): 163–168.
18.Schlundt DG, et al. The role of breakfast in the treatment of obesity: a randomized clinical trial. Am J Clin Nutr. 1992 Mar;55(3):645-51.
19.Schlundt DG, et al. The role of breakfast in the treatment of obesity: a randomized clinical trial. Am J Clin Nutr. 1992 Mar;55(3):645-51.
20.Schoenfeld BJ, Aragon AA, Krieger JW. The effect of protein timing on muscle strength and hypertrophy: a meta-analysis. J Int Soc Sports Nutr. 2013 Dec 3;10(1):53.
21.Sensi S, Capani F. Chronobiological aspects of weight loss in obesity: effects of different meal timing regimens. Chronobiol Int. 1987;4(2):251-61.
22.Sofer S, et al. Greater weight loss and hormonal changes after 6 months diet with carbohydrates eaten mostly at dinner. Obesity (Silver Spring). 2011 Oct;19(10):2006-14.
23.Szajewska H, Ruszczynski M. Systematic review demonstrating that breakfast consumption influences body weight outcomes in children and adolescents in Europe. Crit Rev Food Sci Nutr. 2010 Feb;50(2):113-9.
ทดลอง กินข้าววันละมื้อ 1 เดือนเต็ม กิน 1 ชั่วโมง อดข้าว 23 ชั่วโมง | นู จิดาภา Jidapa Health
สวัสดีค่ะ สาวๆ
สำหรับใครที่อยากทดลองกินข้าววันละมื้อ
ลองดูคลิปนี้ก่อนนะคะ
นูได้ทดลองมาให้แล้ว
จะได้เป็นแนวทางในการทดลอง
ว่า การกินวันละมื้อ มีข้อดีและข้อเสีย อย่างไร
ผลของแต่ละคนไม่เหมือนกันนะ
สามารถติดตามกันเพิ่มเติม/ติดต่องาน
ได้ที่ Facebook Page : https://www.facebook.com/nu7896
Line : https://lin.ee/3OKIxPm
Line : https://line.me/ti/p/llKG9FMtq (ติดต่องานเท่านั้น)
MAil : [email protected] (ติดต่องานเท่านั้น)
กินวันละมื้อ อดข้าว23ชั่วโมง อดข้าวลดน้ำหนัก
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่
ย้อนวัยอีกครั้ง หน้าใสทําไง
ทานมื้อเดียวได้ประโยชน์อะไร เทคนิค กินยังไงให้อายุ ลดลง
ย้อนวัยอีกครั้ง หน้าใสทําไง
Being Hungry Makes You Healthy
หนังสือ “ยิ่งหิวยิ่งสุขภาพดี” เขียนโดย นายแพทย์โยะชิโนะริ นะงุโม (Yoshinori Nagumo)
ในบทนำมีการเกริ่นว่า ผู้เขียนเริ่มทานอาหารเหลือวันละมื้อ เมื่ออายุ 45 ปี เพราะปัญหาเรื่องสุขภาพ
ผ่านไปสิบปี เมื่อเขาไปตรวจร่างกาย พบว่า อายุหลอดเลือดของเขา เท่ากับคนอายุ 26 ปี
เขาเล่าว่า มนุษย์ในอดีต ไม่ได้มีกินอุดมสมบูรณ์ โดยกินสามมื้อเหมือนปัจจุบันนี้
ในอดีตเรากินวันละมื้อก็บุญแล้ว ดังนั้นร่างกายเราจึงมีภูมิคุ้มกันในตัวเอง
เมื่อเราหิว ไม่มีกิน เราจะมียีนที่ชื่อ เซอร์ทูอินออกมาซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอต่างๆ ภายในร่างกาย
ในขณะเดียวกันร่างกายก็จะผลิต Growth Hormone ออกมา
ซึ่งเจ้า Growth Hormone นี้ทำให้เรากลับเป็นหนุ่มสาวมากขึ้น ซึ่งเป็นกระบวนการเพื่อการอยู่รอด
ปัญหาก็คือเมื่อร่างกายอิ่ม กลไกนี้ไม่เกิด เราจึงแก่ไปเรื่อยๆ สรุปง่ายๆ ก็คือ การกินมากไปคือสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคภัยต่างๆ
และที่สำคัญ ร่างกายเราไม่ได้ถูกออกแบบให้กินอิ่ม เราจึงปรับตัวให้การกินอิ่มได้ไม่ดี
ทำให้กระบวนการธรรมชาติของร่างกายเรารวนนั่นเอง
ในเรื่องการกินวันละมื้อ ผู้เขียนได้แนะนำสิ่งที่เขาทำมาแล้วได้ผล เขาบอกว่า เขาเพลิดเพลินกับการที่ได้ยินเสียงท้องร้องจ๊อกๆ
เพราะว่า เขารู้ว่าร่างกายเรากำลังซ่อมแซม และปรับตัวให้เยาว์วัย ด้วยกระบวนการที่กล่าวถึงข้างต้น
ในเชิงหลักการทางวิทยาศาสตร์ เขาอธิบายดังนี้
(1) ปากทางเข้าลำไส้เล็ก จะมีเซ็นเซอร์เตรียมรอรับของกินอยู่
ถ้าไม่มีอาหารไหลลงมาเสียที ลำไส้เล็กก็จะรีบหลั่งฮอร์โมนสำหรับย่อยอาหาร โมลิติน (Molitin) ออกมา
ทำให้กระเพาะอาหารบีบตัว เพื่อส่งของกินที่อาจจะตกค้างอยู่ในกระเพาะอาหารเข้าไปในลำไส้เล็ก
เรียกว่า “การบีบตัวเมื่อหิว” และเป็นตัวการที่แท้จริงของอาการท้องร้องจ๊อกๆ
(2) เมื่อกระเพาะรู้ตัวว่า หิวจะหลั่งฮอร์โมนเกรลิน (Ghrelin) ออกมา
เกรลินจะถูกหลั่งออกมาจากเยื่อบุกระเพาะอาหารซึ่งถูกกระตุ้นเพราะความหิว
โดยจะออกฤทธิ์ที่สมองส่วนไฮโปทาลามัส (Hypothalamus) ทำให้เกิดความอยากอาหาร
ขณะเดียวกันก็จะออกฤทธิ์ที่ต่อมใต้สมอง ทำให้หลั่ง Growth Hormone ออกมา
เจ้า Growth Hormone นี้เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “ฮอร์โมนที่ทำให้กลับไปเป็นหนุ่มสาว”
นั่นหมายความว่า ตอนที่ท้องกำลังร้องจ๊อกๆ เพราะหิว คุณจะค่อยๆ มีเสน่ห์ขึ้น จากฮอร์โมนที่ทำให้กลับเป็นหนุ่มสาว
ถึงท้องจะร้อง ก็อย่าเพิ่งรีบกินอาหาร ให้มาลองเพลิดเพลินกับประสิทธิภาพของการกลับเป็นหนุ่มสาว
ที่ได้จาก Growth Hormone กันสักครู่หนึ่งก่อน
(3) ตอนที่ท้องกำลังร้องจ๊อกๆ นั้น ความสามารถในการอยู่รอดอันยอดเยี่ยมกำลังพลุ่งพล่านขึ้นมา
นั่นก็คือ “ยีนเซอร์ทูอิน” ที่มีสมญาว่า “ยีนต่ออายุขัย” หรือที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ยีนที่ทำให้อายุยืน” กำลังทำงาน
จากการทดลองกับสัตว์หลายชนิดพบว่า เมื่อลดปริมาณอาหารลง 40% จะทำให้อายุยืนขึ้น 1.5 เท่า
ทว่ายีนนี้จะมีประสิทธิภาพก็ต่อเมื่อ มีเงื่อนไขบางประการ นั่นคือ “ความหิว”
ตราบใดที่ท้องไม่ร้องจ๊อกเพราะหิว ยีนนี้ก็จะไม่ทำงาน
ดังนั้น การกินอาหารทั้งที่ยังไม่หิว จึงหมายถึง การมีของดีอยู่กับตัว แต่ไม่ใช้ให้เป็นประโยชน์
มาทำให้ท้องร้องจ๊อก ด้วยการกินอาหารวันละมื้อดีกว่า แล้วยีนเซอร์ทูอินนี้จะช่วยสแกนยีนในร่างกายอย่างรวดเร็ว
พร้อมทั้งค่อยๆ ฟื้นฟูส่วนที่เสียหาย กล่าวกันว่า ความแก่ชราและโรคมะเร็ง ก็มีสาเหตุมาจากความผิดปกติของยีน
ดังนั้น เราสามารถทำให้กลับเป็นหนุ่มสาว และป้องกันโรคมะเร็งด้วยการกินอาหารวันละมื้อ
ยิ่งไปกว่านั้น เมื่อหิวแล้วอาหารยังตกไม่ถึงท้อง ร่างกายจะนำไขมันที่สะสมไว้ในช่องท้อง
มาเปลี่ยนเป็นสารอาหาร ทำให้หน้าท้องแบนราบ
นอกจากการกินวันละมื้อแล้ว ผู้เขียนมีข้อมูลใหม่เพิ่มเติมอีกว่า
การนอนที่ดีคือ นอนในช่วงร่างกายผลิต Growth Hormone ได้ดีที่สุด นั่นก็คือ ช่วงเวลาระหว่าง สี่ทุ่มถึงตีสอง
หลังอ่านจบผมมีความเห็นส่วนตัวว่าสิ่งที่จะทำคือ
(1) รอให้ท้องร้องจ๊อกๆ บ่อยๆ เพื่อซ่อมแซมตัวเองและทำให้เยาว์วัยลง
และ (2) ทานน้อยลง 60% ของแต่ละมื้อ…….”
นอกจากที่คุณอดิศรเขียนแล้ว ผมไปค้นคว้าเพิ่มเติมและพบว่า
เมื่อตอนคุณหมอนะงุโมมีอายุ 37 ปี เขาหนัก 77 กิโลกรัม และเมื่ออายุ 57 ปี หนัก 62 กิโลกรัม
ความดันโลหิตเท่ากับคนอายุ 26 ปีอายุมวลกระดูกเท่ากับคนอายุ 28 ปี และสมองมีอายุเท่ากับคนอายุ 38 ปี
จากที่ดูรูปในอินเทอร์เน็ตถึงแม้ขณะนี้คุณหมออายุ 59 ปี แต่หน้าตาเหมือนไม่ถึง 40 ปี ด้วยซ้ำ
คุณหมอพูดในโทรทัศน์ว่า แค่เริ่มต้นไม่กี่วัน ก็จะสังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงของสุขภาพแล้ว
ย้อนวัยอีกครั้ง
กลิ่นตัวจะหายไป ผิวหนังจะเนียนขึ้น หน้าท้องจะเรียบขึ้น รูปลักษณ์ของคนผอมจะเริ่มปรากฏ และจิตใจคึกคักขึ้นกว่าเก่า
คุณหมอแนะนำให้ทำติดต่อกัน 52 วัน โดยกินอาหารวันละหนึ่งมื้อ คือมื้อกลางวัน ในมื้อนี้อยากกินอะไรก็ตามใจตัวเองได้
หน้าใสทําไง
หากหิวมากก็อาจเสริมด้วยผลไม้และอาหารเบาๆ
รวมข่าวดารา ข่าวกระแสสังคม ข่าวโซเชียล ข่าวบันเทิง ข่าวสารรอบโลก มดตัวนี้จะตามไปเก็บข้อมูลข่าวมาครับ
ขอขอบคุณข้อมูล https://board.postjung.com/892756
คลิปมาใหม่ : http://bit.ly/ข่าวมด
Facebook : http://bit.ly/ข่าวมดเฟสบุ๊ค
IF กินวันละมื้อ ช่วยลดไขมันได้จริงไหม?
สวัสดีครับ โค้ชเค Fitterminal.com
เพื่อนๆเคยสงสัยไหมครับว่า การทำ Intermittent Fasting ที่เราจะกินอาหารแค่วันละ 1 มื้อ และออกกำลังกายควบคู่ไปด้วย จะช่วยให้เราลดไขมันได้เร็วขึ้นจริงหรือเปล่า?
ต่อมา การกินแค่วันละมื้อ หรือ การทำ Intermittent 23/1 จะทำให้ร่างกายเราเสี่ยงที่จะขาดสารอาหารหรือเปล่า ถ้าเรากินได้แค่ไม่เกินวันละ 1,000 แคลอรี่
หรือว่าร่างกายเราจะสะสมไขมันมากขึ้นไหม ถ้าเราอัดแคลอรี่จากอาหารเข้าไปในมื้อเดียว เช่น กินคาร์โบไฮเดรตเข้าไปเยอะๆเลยทีเดียว เป็นต้น
วันนี้ผมโค้ชเค จะมาอธิบายข้อดีและข้อเสียของการทำ Intermittent Fasting 23/1 หรือ การกินอาหารวันละมื้อ จะมีอะไรบ้าง ตามมาเลยครับ
กินอาหารวันละมื้อ ช่วยลดน้ำหนักได้ดีหรือเปล่า?
เพื่อนๆน่าจะเคยได้ลองเอง หรือเคยเห็นคนที่ทำ Intermittent Fasting ที่กินอาหารวันละมื้อ หรือ Onemealaday (OMAD) แล้วมีหุ่นดีขึ้น เช่น พุงอาจจะไม่ยืนออกมาเหมือนแต่ก่อน เป็นต้น
แน่นอนครับว่า การที่เรามีเวลากินอาหารที่แน่นอน และจำกัดเวลากินอาหารควบคู่ไปด้วย มันก็อาจจะช่วยให้เรากินอาหารน้อยลงโดยอัตโนมัติ ซึ่งก็จะส่งผลดีต่อการลดน้ำหนัก และการลดไขมันครับ
และงานวิจัยที่มีผู้เข้าร่วมทดลองเกือบ 1,500 คน (1,422 คน) ก็พบด้วยครับ การทำ Intermittent Fasting นอกจากจะเป็นตัวช่วยที่ดีในการลดไขมันแล้ว
มันยังอาจจะช่วยลดอาการอักเสบภายในร่างกาย ปรับระดับน้ำตาลในเลือดให้พอดี ลดระดับคอเลสเตอรอลเลว หรือ LDL และช่วยลดความเสี่ยงของโรคอ้วน และโรคหัวใจ อีกด้วยครับ
แต่คำถาม คือ สำหรับผู้หญิงแล้ว การที่เรากำหนดเวลากินอาหารแค่วันละ 12 ชั่วโมง และกินแค่วันละ 1 มื้อ มันจะทำให้ร่างกายเสี่ยงที่จะขาดสารอาหารและเครียดเกินไป จนเกิดผลเสียด้านลบได้หรือเปล่า?
นั่นเป็นเพราะว่า ร่างกายผู้หญิงจะไวต่อฮอร์โมน Cortisol และปริมาณอาหารที่ลดลงได้เร็วมากๆ เช่น เพื่อนๆบางคนพอกินอาหารน้อยๆ และตัดแป้งไป ก็อาจจะทำให้ผมเริ่มร่วงมากขึ้น และประจำเดือนขาดได้ เป็นต้น
และนี่ก็คือเหตุผลที่ผมอยากแนะนำให้เพื่อนๆเลือกทำ Intermittent Fasting 16/8 ที่เราจะอดอาหารนานสุดแค่ 16 ชั่วโมง และกินอาหารแค่ 23 มื้อ ภายใน 8 ชั่วโมงนั่นเองครับ
แต่เพื่อไขข้อข้องใจเพื่อนๆทุกคน เรามาดูกันครับว่า ถ้าเราทำ Intermittent Fasting ที่อดอาหารนานๆ และกินแค่วันละมื้อ (OMAD) มันจะมีข้อดีข้อเสียอะไรบ้าง
อ่านบทความเต็ม: https://bit.ly/34T3UCF
===============================
ถ้าเพื่อนๆมีเป้าหมายอยากลดน้ำหนัก ลดไขมัน อยากมีหุ่นในฝัน ให้ตัวเองภูมิใจสักครั้งในชีวิต
แอดไลน์ที่ลิ้งค์ด้านล่าง แล้วมาปรึกษาก่อนได้ FREE ครับ
ลดน้ำหนัก ลดไขมัน ifลดน้ำหนัก
===============================
| Follow Us | ช่องทางการอัพเดทข้อมูลข่าวสาร |
Fitterminal LINE: @fitterminal (https://lin.ee/oUroe8R)
Fitterminal Facebook: http://bit.ly/2GeJebZ
Fitterminal Instagram: http://bit.ly/2Zh5KtG
Fitterminal Website: http://bit.ly/2GKOWDa
ทดสอบกินข้าววันละมื้อ7วันน้ำหนักจะลดมั้ย MonnyLife
MonnyLifeHowto ลดความอ้วน ลดน้ำหนัก
ใครมีคำถามใดๆคอมเมนท์เข้ามาได้เลยน้าา
MonnyLife Channel
ติดต่อ/ติดตามมอนนีได้ที่
IG:: Monny.life
Facebook : MonnyLife Channel
ทุกคนอยากให้มอนนีทำคลิปแบบไหนสามารถคอมเม้นมาเลยนะคะ
และถ้าใครอยากรู้อะไรเกี่ยวกับมอนนีสามารถถามและ hashtag Q\u0026A เข้ามาเลยนะคะ เจอกันคลิปต่อไป ขอบคุณทุนคนที่ติดตามนะคะ
Edit the video : Aom Visakorn
กินวันละมื้อ… คุณก็ทำได้ถ้ารู้เทคนิค
ความเจ็บปวดคงอยู่ชั่วขณะ
แต่ชัยชนะคงอยู่ตลอดไป
หากยังไม่รู้จักอดทนและอดใจ
ความยิ่งใหญ่ก็จะไม่เป็นของคุณ
ขุนเขา สินธุเสน เขจรบุตร
มีคำเตือนสำคัญนะครับ: การดื่ม Apple Cider บ่อยๆอย่างผิดวิธี จะทำให้ฟันสึกได้
เพราะน้ำมีฤทธิ์เป็นกรดอย่างอ่อน ควรใช้หลอดดูดเพื่อไม่ให้น้ำกระทบฟันโดยตรง
แน่นอนว่าอย่าอมน้ำที่มี Apple Cider! และไม่ควรดื่มต่อเนื่องยาวนานจนเกินไป
เมื่อเริ่มชินกับการทำ IF แล้ว การดื่มน้ำสะอาดเพื่อแก้หิว เป็นทางออกที่ดีที่สุดครับ
เป็นกำลังใจให้ทุกคนนะครับ
ติดตามผมได้ที่
Official Line:
@kskhunkhao (มีเครื่องหมาย @ ด้วยนะครับ)
ลิ้งก์ https://lin.ee/1VT3k3oPo
Facebook: K.S. Khunkhao
ลิ้งก์ https://bit.ly/2Set3Cz
Instagram: ks_khunkhao
ลิ้งก์ https://bit.ly/2S7lwWm
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆWiki
ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ กินอาหารวันละมื้อ