โรค ปลาย ประสาท อักเสบ เกิด จาก: คุณกำลังดูกระทู้
ร่างกายของคนเรามีระบบประสาทส่วนปลายที่ทำหน้าที่รับคำสั่งจากระบบประสาทส่วนกลาง แล้วส่งต่อคำสั่งไปยังกล้ามเนื้อ ทำให้ร่างกายมีการเคลื่อนไหวและรับความรู้สึกได้
หากเส้นประสาทที่รับส่งคำสั่งจากสมองและไขสันหลังไปยังอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายเกิดความเสียหาย หรือเกิดโรคบางชนิดขึ้น ก็อาจเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะที่เรียกว่า โรคปลายประสาทอักเสบ (Peripheral Neuropathy) ได้
สังเกตเบื้องต้นยังไง ว่าเสี่ยงเป็น “โรคปลายประสาทอักเสบ?”
• อ่อนแรง ปวดและชาตามมือและเท้า หรืออวัยวะส่วนอื่น ๆ ของร่างกาย
• มีอาการแสบ หรือเจ็บแปลบบริเวณที่ได้รับผลกระทบ
• สูญเสียการทรงตัว เกิดอาการบ้านหมุน
• มีอาการปวดแปร๊บๆ บนใบหน้าคล้ายถูกไฟฟ้าช็อต มักเกิดอาการด้านใดด้านหนึ่งของใบหน้า
• เกิดอาการใบหน้าเบี้ยว ใบหน้าอ่อนแรงครึ่งซีก
หากพบอาการผิดปกติแนะนำให้พบแพทย์เพื่อตรวจหาสาเหตุ และรับการรักษาให้ถูกต้อง เพราะการอักเสบของเส้นประสาทบางตำแหน่งอาจมีหลายสาเหตุ บางสาเหตุอาจเกิดจากการขาดวิตามินบางชนิด แต่บางสาเหตุอาจเกิดจากอื่นๆ
อายุน้อยก็เป็น “โรคปลายประสาทอักเสบ” ได้
โรคปลายประสาทอักเสบมักจะเกิดกับคนวัยชรา และคนมีโรคประจำตัวเป็นส่วนใหญ่ แต่ปัจจุบันกลับพบว่าช่วงวัยชราที่เป็นโรคปลายประสาทอักเสบมีแนวโน้มต่ำลง แต่กลับเป็นกลุ่มวัยทำงานที่เพิ่มจำนวนขึ้นเรื่อยๆ โดยพบได้ในคนที่มีอายุเฉลี่ย 30 ปีขึ้นไป จากไลฟ์ไตล์ที่เร่งรีบในปัจจุบันที่แสนจะสุดเยอะ อย่าง..
• มีเรื่องต้องทำเยอะ : Multitasking สุดๆ ทำหลายอย่าง ทำงานหนัก แถมยังพักผ่อนน้อย รวมถึงพฤติกรรมการใช้งานข้อมือซ้ำๆ อย่างการคลิกเม้าส์หรือใช้สมาร์ทโฟนตลอดเวลา ร่วมกับการกินอาหารไม่ครบ 5 หมู่ โดยเฉพาะการไม่รับประทานผัก ธัญพืช ทำให้ร่างกายขาดวิตามินบางชนิด เช่น บี 1 บี 6 และ บี 12
• สายปาร์ตี้ ดื่มหนัก : ยิ่งดื่มยิ่งทำให้ร่างกายถูกกระตุ้นให้ขับวิตามินต่างๆ ออกมาพร้อมกับปัสสาวะ โดยเฉพาะวิตามินในกลุ่มที่ละลายในน้ำอย่างวิตามินบี
• รับประทานมังสวิรัติ : วิตามินบางชนิดเช่นวิตามินบี 12 พบมากในเนื้อสัตว์ ผู้ที่รับประทานมังสวิรัติอาจขาดวิตามินนี้ 3
• ผู้ที่รับประทานยาบางชนิดเป็นประจำ เช่น ยาคุมกำเนิด ยาขับปัสสาวะ อาจมีความเสี่ยงในการขาดวิตามินบี 1,2
• มีภาวะโรคบางอย่างแฝง หากมีสัญญาณที่เกิดขึ้นดังกล่าวข้างต้น ควรปรึกษาแพทย์
“โรคปลายประสาทอักเสบ” ป้องกันได้ แค่ดูแลตัวเองด้วยการ
• เต็มที่แค่ไหน ก็ต้องหาเวลาพักผ่อนให้เพียงพอ ทำเยอะบ้าง ทำน้อยบ้าง และปล่อยให้ร่างกายได้ผ่อนคลาย
• หลีกเลี่ยงการไขว้ขาและการนั่งในท่าที่อาจกดทับเส้นประสาทระหว่างการทำงาน
• ขยับขยายร่างกาย เปลี่ยนอริยาบถบ่อยๆ เลี่ยงการนั่ง คลิกเม้าส์หรือใช้สมาร์ทโฟนในท่าเดิม
• ลดการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ลง ปาร์ตี้น้อยลงสักนิดเพื่อสุขภาพ
• เลือกทานอาหารที่มีวิตามิน B1, B6 และ B12 อย่างเหมาะสมหรือวิตามินบีรวม เพราะวิตามินบี มีส่วนช่วยในการทำงานของระบบประสาทและสมอง และช่วยซ่อมแซมปลอกหุ้มเซลล์ประสาท
• ทานอาหารที่มีโคลีน เช่น ไข่แดง เนื้อสัตว์ เครื่องใน ผักใบเขียวบางชนิด ถั่วเหลือง ถั่วลิสง หรือเสริมด้วยอาหารเสริมที่มีโคลีน สารตั้งต้นหลักในการสังเคราะห์สารสื่อประสาทอย่าง อะเซททิลโคลีน (Acetylcholine) ซึ่งเป็นสารสื่อประสาทสำคัญที่เกี่ยวข้องกับความจำ การควบคุมกล้ามเนื้อต่างๆ
โรคปลายประสาทอักเสบป้องกันได้จากการปรับเปลี่ยนไลฟ์สไตล์ที่เป็นอยู่ให้สมดุลมากขึ้น เริ่มต้นดูแลตัวเองตั้งแต่วันนี้ดีที่สุด
อ้างอิง :
1. Veninga KS. Effects of oral contraceptives on vitamins B6, B12, C, and folacin. J Nurse Midwifery. 1984 Nov-Dec;29(6):386-90. doi: 10.1016/0091-2182(84)90169-1. PMID: 6568271.
2. Morrow LE, Grimsley EW. Long-term diuretic therapy in hypertensive patients: effects on serum homocysteine, vitamin B6, vitamin B12, and red blood cell folate concentrations. South Med J. 1999 Sep;92(9):866-70. doi: 10.1097/00007611-199909000-00003. PMID: 10498160.
3. Rizzo, G., Laganà, A. S., Rapisarda, A. M., La Ferrera, G. M., Buscema, M., Rossetti, P., Nigro, A., Muscia, V., Valenti, G., Sapia, F., Sarpietro, G., Zigarelli, M., & Vitale, S. G. (2016). Vitamin B12 among Vegetarians: Status, Assessment and Supplementation. Nutrients, 8(12), 767. https://doi.org/10.3390/nu8120767
http://www.bangmodhospital.com/health_news/53
https://www.pobpad.com/ปลายประสาทอักเสบ
https://www.synphaet.co.th/สัญญาณเตือนโรคปลายประส/
[Update] โรคปลายประสาทอักเสบ โรคฮิตของคนสมัยนี้อายุเท่าไรก็เสี่ยง | โรค ปลาย ประสาท อักเสบ เกิด จาก – Sonduongpaper
ร่างกายของคนเรามีระบบประสาทส่วนปลายที่ทำหน้าที่รับคำสั่งจากระบบประสาทส่วนกลาง แล้วส่งต่อคำสั่งไปยังกล้ามเนื้อ ทำให้ร่างกายมีการเคลื่อนไหวและรับความรู้สึกได้
หากเส้นประสาทที่รับส่งคำสั่งจากสมองและไขสันหลังไปยังอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายเกิดความเสียหาย หรือเกิดโรคบางชนิดขึ้น ก็อาจเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะที่เรียกว่า โรคปลายประสาทอักเสบ (Peripheral Neuropathy) ได้
สังเกตเบื้องต้นยังไง ว่าเสี่ยงเป็น “โรคปลายประสาทอักเสบ?”
• อ่อนแรง ปวดและชาตามมือและเท้า หรืออวัยวะส่วนอื่น ๆ ของร่างกาย
• มีอาการแสบ หรือเจ็บแปลบบริเวณที่ได้รับผลกระทบ
• สูญเสียการทรงตัว เกิดอาการบ้านหมุน
• มีอาการปวดแปร๊บๆ บนใบหน้าคล้ายถูกไฟฟ้าช็อต มักเกิดอาการด้านใดด้านหนึ่งของใบหน้า
• เกิดอาการใบหน้าเบี้ยว ใบหน้าอ่อนแรงครึ่งซีก
หากพบอาการผิดปกติแนะนำให้พบแพทย์เพื่อตรวจหาสาเหตุ และรับการรักษาให้ถูกต้อง เพราะการอักเสบของเส้นประสาทบางตำแหน่งอาจมีหลายสาเหตุ บางสาเหตุอาจเกิดจากการขาดวิตามินบางชนิด แต่บางสาเหตุอาจเกิดจากอื่นๆ
อายุน้อยก็เป็น “โรคปลายประสาทอักเสบ” ได้
โรคปลายประสาทอักเสบมักจะเกิดกับคนวัยชรา และคนมีโรคประจำตัวเป็นส่วนใหญ่ แต่ปัจจุบันกลับพบว่าช่วงวัยชราที่เป็นโรคปลายประสาทอักเสบมีแนวโน้มต่ำลง แต่กลับเป็นกลุ่มวัยทำงานที่เพิ่มจำนวนขึ้นเรื่อยๆ โดยพบได้ในคนที่มีอายุเฉลี่ย 30 ปีขึ้นไป จากไลฟ์ไตล์ที่เร่งรีบในปัจจุบันที่แสนจะสุดเยอะ อย่าง..
• มีเรื่องต้องทำเยอะ : Multitasking สุดๆ ทำหลายอย่าง ทำงานหนัก แถมยังพักผ่อนน้อย รวมถึงพฤติกรรมการใช้งานข้อมือซ้ำๆ อย่างการคลิกเม้าส์หรือใช้สมาร์ทโฟนตลอดเวลา ร่วมกับการกินอาหารไม่ครบ 5 หมู่ โดยเฉพาะการไม่รับประทานผัก ธัญพืช ทำให้ร่างกายขาดวิตามินบางชนิด เช่น บี 1 บี 6 และ บี 12
• สายปาร์ตี้ ดื่มหนัก : ยิ่งดื่มยิ่งทำให้ร่างกายถูกกระตุ้นให้ขับวิตามินต่างๆ ออกมาพร้อมกับปัสสาวะ โดยเฉพาะวิตามินในกลุ่มที่ละลายในน้ำอย่างวิตามินบี
• รับประทานมังสวิรัติ : วิตามินบางชนิดเช่นวิตามินบี 12 พบมากในเนื้อสัตว์ ผู้ที่รับประทานมังสวิรัติอาจขาดวิตามินนี้ 3
• ผู้ที่รับประทานยาบางชนิดเป็นประจำ เช่น ยาคุมกำเนิด ยาขับปัสสาวะ อาจมีความเสี่ยงในการขาดวิตามินบี 1,2
• มีภาวะโรคบางอย่างแฝง หากมีสัญญาณที่เกิดขึ้นดังกล่าวข้างต้น ควรปรึกษาแพทย์
“โรคปลายประสาทอักเสบ” ป้องกันได้ แค่ดูแลตัวเองด้วยการ
• เต็มที่แค่ไหน ก็ต้องหาเวลาพักผ่อนให้เพียงพอ ทำเยอะบ้าง ทำน้อยบ้าง และปล่อยให้ร่างกายได้ผ่อนคลาย
• หลีกเลี่ยงการไขว้ขาและการนั่งในท่าที่อาจกดทับเส้นประสาทระหว่างการทำงาน
• ขยับขยายร่างกาย เปลี่ยนอริยาบถบ่อยๆ เลี่ยงการนั่ง คลิกเม้าส์หรือใช้สมาร์ทโฟนในท่าเดิม
• ลดการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ลง ปาร์ตี้น้อยลงสักนิดเพื่อสุขภาพ
• เลือกทานอาหารที่มีวิตามิน B1, B6 และ B12 อย่างเหมาะสมหรือวิตามินบีรวม เพราะวิตามินบี มีส่วนช่วยในการทำงานของระบบประสาทและสมอง และช่วยซ่อมแซมปลอกหุ้มเซลล์ประสาท
• ทานอาหารที่มีโคลีน เช่น ไข่แดง เนื้อสัตว์ เครื่องใน ผักใบเขียวบางชนิด ถั่วเหลือง ถั่วลิสง หรือเสริมด้วยอาหารเสริมที่มีโคลีน สารตั้งต้นหลักในการสังเคราะห์สารสื่อประสาทอย่าง อะเซททิลโคลีน (Acetylcholine) ซึ่งเป็นสารสื่อประสาทสำคัญที่เกี่ยวข้องกับความจำ การควบคุมกล้ามเนื้อต่างๆ
โรคปลายประสาทอักเสบป้องกันได้จากการปรับเปลี่ยนไลฟ์สไตล์ที่เป็นอยู่ให้สมดุลมากขึ้น เริ่มต้นดูแลตัวเองตั้งแต่วันนี้ดีที่สุด
อ้างอิง :
1. Veninga KS. Effects of oral contraceptives on vitamins B6, B12, C, and folacin. J Nurse Midwifery. 1984 Nov-Dec;29(6):386-90. doi: 10.1016/0091-2182(84)90169-1. PMID: 6568271.
2. Morrow LE, Grimsley EW. Long-term diuretic therapy in hypertensive patients: effects on serum homocysteine, vitamin B6, vitamin B12, and red blood cell folate concentrations. South Med J. 1999 Sep;92(9):866-70. doi: 10.1097/00007611-199909000-00003. PMID: 10498160.
3. Rizzo, G., Laganà, A. S., Rapisarda, A. M., La Ferrera, G. M., Buscema, M., Rossetti, P., Nigro, A., Muscia, V., Valenti, G., Sapia, F., Sarpietro, G., Zigarelli, M., & Vitale, S. G. (2016). Vitamin B12 among Vegetarians: Status, Assessment and Supplementation. Nutrients, 8(12), 767. https://doi.org/10.3390/nu8120767
http://www.bangmodhospital.com/health_news/53
https://www.pobpad.com/ปลายประสาทอักเสบ
https://www.synphaet.co.th/สัญญาณเตือนโรคปลายประส/
อาการมือชาจากเส้นประสาทอักเสบ
รายการผู้หญิงถึงผู้หญิง อาการมือชาจากเส้นประสาทอักเสบ
โดย พญ.อริยา ทิมา แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านอายุรกรรมประสาทวิทยา
โรงพยาบาลรามคำแหง ออกอากาศ วันที่ 13 มกราคม 2555
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่
[email protected] Show : รู้จักโรคปลายประสาทอักเสบ
อาการของโรคปลายประสาทอักเสบจะอันตรายขนาดไหน แล้วเราต้องสังเกตตัวเองอย่างไรพบกับ ‘รู้จักโรคปลายประสาทอักเสบ’
รายการ [email protected] Show ทุกวันจันทร์วันศุกร์ 03.18 03.23 น. ทางช่อง 3 กดหมายเลข 33
ติดตามอัพเดตเทรนด์สุขภาพสไตล์ [email protected] Show❤️❤️
👉 ข่าวสารสุขภาพ https://bit.ly/3gzkb3u
👉 คลิปเด็ดจากกูรูและ บทความโดนๆ ที่ misterban.com
👉 ทันทุกสถานการณ์ทั่วโลก การลงทุนและสุขภาพ ที่Twiter @misterbancha 🐦🐦🐦
สาเหตุทำให้เกิดปลายประสาทอักเสบ / Peripheral neuropathy – Causes
สาเหตุทำให้เกิดปลายประสาทอักเสบ
โรคปลายประสาทอักเสบ จัดเป็นโรคที่พบได้บ่อยที่สุดโรคหนึ่ง ซึ่งพบได้ประมาณ 8% ของคนทั่วโลก หรือมีคนเป็นโรคนี้ประมาณ 170 กว่าล้านคน
จากสถิติในสหรัฐฯ ได้รายงานเอาไว้ว่า ประมาณ 70% ของคนที่เป็นโรค
เบาหวาน จะเกิดเป็นโรคปลายประสาทอักเสบ (neuropathy) โดยจะเกิดใน
ใดช่วงหนึ่งของชีวิตของท่านผู้นั้น
นอกเหนือไปจากโรคเบาหวานแล้ว ยังปรากฏว่ามีสาเหตุอย่างอื่นที่สามารถทำให้เกิดโรคปลายประสาทอักเสบ ที่เราควรทราบได้แก่:
การใช้ยาบางอย่าง: เป็นต้นว่า ยาที่ใช้รักษาโรคมะเร็งบางอย่าง chemotherapy
ความผิดปกติทางพันธุกรรม เช่น MarieTooth syndrome เป็นโรคทางพันธุกรรมที่ทำให้เส้นประสาททั้งความรู้สึก และกล้ามเนื้ออ่อนแรง…
โรคแพ้ภูมิตนเอง เช่น โรครูมาตอยด์, โรคลูปัส, GuillainBarre syndrome…., Sjogren,s disease, Multiple sclerosis และอื่นๆ
โรคพิษสุราเรื้อรัง … ผลจากรายงานกล่าวว่า ประมาณครึ่งหนึ่งของคนที่ดื่มแอลกอฮอล์อย่างหนักเป็นเวลานานๆ สามารถเกิดโรคปลายประสาทอักเสบได้ โดยเป็นผลมาจากการขาดสารไวตามิน B1612, niacin และ E
ขาดสารไวตามิน Bs เช่น B1 – 6 12, Vitamin E และ niacin ต่างมีความสำคัญต่อสุขภาพของระบบประสาททั้งนั้น
การอักเสบชนิดต่างๆ อันได้แก่ไวรัส, แบคทีเรียหลายชนิดรวมถึงไวรัสตับอักเสบ C และ HIV…
เนื้องอกที่ไปกดทับเส้นประสาท…โดยตัวของมันเองอาจเกิดเนื้องอก
หรือมะเร็งขึ้นโดยตรง หรือเกิดในบริเวณใกล้เคียง แล้วไปกดรัดเส้น
ประสาทเข้า…แล้วก่อให้เกิดปัญหาขึ้น
ได้รับบาดเจ็บโดยตรง เส้นประสาทถูกทำลาย และก่อเกิดการอักเสบของเส้นประสาทขึ้น
สัมผัสสารพิษต่างๆ เป็นต้นว่า โลหะหนัก เช่น ตะกั่ว และสารปรอท
และโรคอื่นๆ เป็นต้นว่า โรคไต, โรคตับ, โรคที่เกี่ยวกับเนื้อเยื่อผูกพันต่างๆ และโรคต่อมไทรอยด์ทำงานน้อย เป็นต้น
โดยสรุปแล้ว…จะพบว่า มีสาเหตุมากมายที่เป็นตัวการทำให้เกิดโรคเส้นประสาท หรือปลายอประสารทอัก และมีโรคหลายอย่างที่เราสามารถควบคุมได้ เป็นต้นว่า โรคเบาหวาน,โรคขาดไวตามิน รวมไปถึงการดื่มแอลกอฮอล์… เป็นต้น
การวินิจฉัยโรคปลายประสาทอักเสบ / Peripheral neuropathy Diagnosis
การวินิจฉัยโรคปลายประสาทอักเสบ
เมื่อท่านไปพบแพทย์เกี่ยวกับปัญหาที่เกิดขึ้นกับท่าน เขาจะถามถึงอาการ
ต่างๆ ทีเกิดขึ้นกับท่าน พร้อมกับตรวจดูตำแหน่งของร่างกายที่เกิดมีปัญหา
ด้วยการตรวจดูความรู้สึก, ตรวจความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ และรีเฟลกซ์
ต่างๆ
แพทย์ของท่านเขาอาจสั่งให้มีการตรวจเลือดต่างๆ โดยเฉพาะตรวจหาสาเหตุที่น่าเป็นต้นเหตุ เป็นต้นว่า ตรวจดูระดับน้ำตาล…หรือดตรวจดูระดับไวตามินปี 12….
แค่นั้นยังไม่พอ…
เขาจะทำการพิสูจน์ยืนยันว่า เป็นโรคเส้นประสาทถูกทำลายจริงหรือไม่
ซึ่งแพทย์บางท่านอาจปรึกษาแพทย์เฉพาะทางประสาท (neurologists)
เพื่อทำการตรวจพิเศษบางอย่าง เป็นต้นว่า
ตรวจการนำคลื่นประสาทของเส้นประสาท (nerve conduction test)
โดยเขาจะวางปลายอิเล็กโตรดเล็กไว้บนผิวหนัง แล้วปล่อยคลื่นกระ
แสไฟฟ้ากระตุ้นเส้นประสาท…จากนั้นเขาจะบันทึกความเร็ว และความ
แรงของสัญญาณประสาทที่รับได้ หรือ
ทำการตรวจคลื่นกระแสไฟฟ้าของกล้ามเนื้อ (electromyography)
ด้วยการเสียบปลายเข็มขนาดเล็กจี๋วเข้าไปในกล้ามเนื้อที่ต้องการ
ตรวจวัดดูคลื่นกระแสไฟฟ้าของกล้ามเนื้อ
การตรวจการนำคลื่นสัญญาณประสาท และคลื่นกระแสไฟฟ้าของกล้าม
เนื้อจะกระทำไปด้วยกัน…ซึ่งแพทย์สามารถบอกได้ว่า มีการทำลาย
เส้นประสาทหรือไม่ ?
นอกจากนั้น แพทย์อาจทำการตรวจยืนยันสาเหตุทำให้เกิดเส้นประสามอักเสบซึ่งเขาสามารถกระทำการตรวจหาสาเหตุได้ เป็นต้นว่า ถ้าสงสัยว่าเป็นโรคเบาหวาน เขาก็ทำการตรวจดูระดับน้ำในกระแสเลือด ซึ่งระดับที่สูงขึ้นนั้นมีส่วนสัมพันธ์กับการเกิดโรคได้สูง ตรวจดูระดับไทรอยด์ฮอร์โมน โดยการทำงานไทรอยด์ต่ำก็เป็นต้อนเหตุให้เกิดโรคส้นประสาท และอื่น ๆ
ถ้าสงสัยเกี่ยวกับการใช้ยา…ซึ่งเป็นที่รูกันว่า ยาตัวนั้นสามารถทำให้เกิด
ปลายประสาทอักเสบได้ เขาอาจสั่งให้ท่านหยุดยาตัวนั้นๆ หรือทำการลด
ขนาดของยาลง…แล้ดูว่า อาการดีขึ้นหรือไม่ ?
ถ้าไม่แน่ใจว่า…
อะไรคือสาเหตุที่ทำให้เกิดโรค เขาอาจส่งท่านไปปรึกษาแพทย์ผู้ชำนาญการเฉพาะทาง หรือแนะนำให้ท่านทำการตรวจพิเศษบางอย่าง ที่ท่านควรทราบ เป็นต้นว่า
ตรวจดูความผิดปรกติทางพันธุกรรม (MarrieTooth syndrome)
อาจสั่งให้มีการเจาะเอาน้ำไขสันหลังไปตรวจ ซึ่งอาจ
อาจสนับสนุนข้อมูลเกี่ยวกับการอักเสบจากโรค GuillainBarre syndrome
การตรวจเอกซเรย์, CT scan หรือ MRI ของกระดูก
สันหลังเพื่อหาสาเหตุ เช่น ประสาทถูกกดจากหมอนกระดูกแตก, ก้อน
เนื้องอก เป็นต้น
โดนสรุปแล้ว จะเห็นว่า การวินิจฉัยโรคนั้นไม่ใช้เรื่องยาก แพทย์ขาจะอาศัยข้อมูลจากทาน เกี่ยวกับอาการที่เกิดขึ้น มีการตรวจร่างกาย มีการตรวจพิเศษหลายอย่าง เป็นต้นว่า ตรวจดูคลื่นกระแสไฟฟ้าของกล้ามเนื้อ, การนำสัญญาณคลื่นประสาทรวมไปถึงการตรวจด้วยภาพต่างๆ เช่เอกซเรย์, MRI, CT scan…
http://www.nhs.uk
แชร์ประสบการณ์ผ่าตัดสมอง ปลายประสาทอักเสบ! l Giggle Story
ถามกันเข้ามาเยอะมากว่ากิ๊กผ่าตัดแล้วเป็นยังไง เริ่มต้นมีอาการแบบไหน?
วันนี้กิ๊กจะมาเล่าประสบการณ์ให้ฟัง ปลายประสาทอักเสบเป็นเรื่องใกล้ตัวที่ทุกคนต้องระวัง
หวังว่าคลิปนี้จะมีประโยชน์ต่อทุกคนนะคะ ถ้ามีคำถามตรงไหนคุยกันมาได้เลยน้า 🙂
ปลายประสาทอักเสบ ผ่าตัดสมอง ดูแลตัวเอง
Follow me 🙂
facebook : https://www.facebook.com/GiggleStory107786967610649
Instagram : https://www.instagram.com/gigglegiz/?hl=th
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆWiki
ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ โรค ปลาย ประสาท อักเสบ เกิด จาก