ผม ร่วง ผิด ปกติ: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

HDmall สรุปให้!
ปิด
- บางครั้งเมื่อร่างกายเกิดควาผิดปกติ เช่น เหนื่อยล้า ท้องผูก สิวขึ้น ผมร่วง อารมณ์แปรปรวน อาจเกิดจากฮอร์โมนในร่างกายหลั่งมาก / น้อยเกินไป
- การตรวจฮอร์โมนจึงอาจทำให้ทราบว่าอาการเหล่านั้นมีที่มาจากฮอร์โมนผิดปกติหรือไม่ จะได้หาทางรักษาได้ถูกต้อง
- สอบถามแอดมิน หรือให้แอดมินหาแพ็กเกจตรวจฮอร์โมนราคาดีๆ สถานที่ใกล้ๆ แตะที่นี่ได้เลย
- เช็กราคาจริงแพ็กเกจตรวจฮอร์โมนจากคลินิกและโรงพยาบาล จองผ่าน HDmall รับส่วนลด! แตะเลย
ฮอร์โมน (Hormone) คือสารเคมีในร่างกายที่ผลิตขึ้นจากกลุ่มเซลล์ในต่อมไร้ท่อต่างๆ เช่น ต่อมใต้สมอง (Pituitary gland) มดลูก รังไข่ ต่อมไทรอยด์ (Thyroid gland)
อธิบายให้เข้าใจง่ายๆ ฮอร์โมนแต่ละชนิดในร่างกายจะมีหน้าที่เฉพาะ แล้วเดินทางด้วยกระแสเลือด เพื่อไปบอกอวัยวะต่างๆ ว่าต้องทำหน้าที่อะไรบ้าง เช่น บอกให้นอน ให้หิว ให้เกิดการเผาผลาญพลังงาน ให้มีความรู้สึกนึกคิดต่างๆ รวมถึงมีอารมณ์ทางเพศ
หากฮอร์โมนผิดปกติ ไม่ว่ามีมากไปหรือน้อยไป ก็จะส่งผลให้ระบบของร่างกายผิดเพี้ยนไปด้วย เพราะร่างกายจะรับข้อมูลที่ผิดเพี้ยนนั่นเอง
ตรวจฮอร์โมนเพื่ออะไร ทำอย่างไร?
การตรวจฮอร์โมน เป็นไปเพื่อให้รู้ว่าฮอร์โมนแต่ละชนิดมีการหลั่งมากหรือน้อยกว่าปกติหรือไม่ เป็นหนึ่งในวิธีหาสาเหตุของความผิดปกติในร่างกาย เมื่อทราบว่าฮอร์โมนใดที่ผิดปกติแล้ว ก็สามารถสืบย้อนกลับไปได้ว่าฮอร์โมนตัวนั้นหลั่งออกมาจากต่อมใด จนพบปัญหาที่แท้จริง และแก้ปัญหาอย่างถูกต้อง ตรงจุด
วิธีตรวจฮอร์โมนสามารถทำได้ด้วยการตรวจเลือดหรือน้ำลาย ขึ้นอยู่กับชนิดฮอร์โมนที่ต้องการตรวจ
อาการแบบไหน อาจเกี่ยวกับฮอร์โมนผิดปกติ?
เนื่องจากฮอร์โมนเดินทางผ่านกระแสเลือดที่ไปเลี้ยงทุกส่วนของร่างกาย ทำให้อาการของฮอร์โมนผิดปกตินั้นค่อนข้างกว้างและเกิดขึ้นได้กับหลายส่วน ต่อไปนี้คือตัวอย่างอาการที่อาจเกี่ยวกับฮอร์โมนผิดปกติ
- เหนื่อยล้า บางรายอาจกล้ามเนื้ออ่อนแรงและปวดเมื่อย
- ท้องผูก ลำไส้ทำงานผิดปกติ
- ผิวแห้ง
- สิวขึ้นผิดปกติ
- หัวใจเต้นเร็วขึ้นหรือช้าลงผิดปกติ
- ปัสสาวะบ่อย หิวน้ำ หิวข้าวบ่อย
- ผมบาง ผมร่วงง่าย
- ความต้องการทางเพศลดลง ประจำเดือนผิดปกติ
- บางรายอาจมีบุตรยาก
- อารมณ์แปรปรวน หงุดหงิดง่าย ซึมเศร้า วิตกกังวล
แต่อย่างไรก็ตาม ฮอร์โมนเป็นหนึ่งในปัจจัยของอาการเหล่านี้เท่านั้น หากมีอาการดังที่กล่าวไปเกิดขึ้น ก็ไม่ได้หมายความว่าจะเกิดจากฮอร์โมนเสมอไป
ตัวอย่างชนิดฮอร์โมนที่สำคัญ
ตัวอย่างฮอร์โมนที่ทำหน้าที่สำคัญในร่างกาย ซึ่งมักมีในรายการตรวจฮอร์โมน เช่น
- ฮอร์โมนอินซูลิน (Insulin) ช่วยในการนำน้ำตาลเข้าเซลล์เพื่อไปใช้ให้พลังงาน
- ฮอร์โมนไทรอยด์ (TSH, T3, T4) ทำหน้าที่ควบคุมหลายระบบในร่างกาย เช่น ควบคุมน้ำหนักและการเผาผลาญพลังงานของเซลล์ ช่วยควบคุมอุณหภูมิในร่างกาย เกี่ยวข้องกับการสร้างผิว ผม เล็บ เป็นต้น
- ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต (Cortisol, Aldosterone, DHEA) ช่วยกำจัดความเครียด ควบคุมสมดุลแร่ธาตุในร่างกาย กระตุ้นความรู้สึกทางเพศ
- ฮอร์โมนเสริมสร้างและช่วยในการเจริญของเซลล์ (Growth hormone, IGF-1) เกี่ยวข้องกับเมตาบอลิซึม การเจริญเติบโต และการฟื้นฟูของเซลล์ต่างๆ ในร่างกาย
- ฮอร์โมนเพศ (Estradiols, Progesterone, LH, FSH, Testosterone) ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกายและการทำงานของระบบสืบพันธุ์
อย่างไรก็ตาม การตรวจฮอร์โมนอาจไม่ใช่วิธีเฉพาะเจาะจงอันดับแรกๆ หลังจากเข้าไปพบแพทย์ ดังนั้นหากต้องการตรวจฮอร์โมนอย่างละเอียด สามารถดูแพ็กเกจเสริมได้จาก HDmall
เปรียบเทียบราคา ตรวจฮอร์โมน จากคลินิกและโรงพยาบาลมากมาย พร้อมจองคิวผ่าน HDmall เพื่อรับส่วนลดหรือแคชแบ็กได้เลย
ที่มาของข้อมูล
Corinne O’Keefe Osborn, Everything You Should Know About Hormonal Imbalance, (https://www.healthline.com/health/hormonal-imbalance), 14 January 2020.
ศูนย์เรียนรู้ดิจิทัลระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี สสวท., ระบบต่อมไร้ท่อ (endocrine system), (https://www.scimath.org/lesson-biology/item/7123-2017-06-04-07-31-16), 4 มิถุนายน 2560.
[Update] ฮอร์โมนผิดปกติ อาการเป็นอย่างไร? ตรวจฮอร์โมน สำคัญไหม? | ผม ร่วง ผิด ปกติ – Sonduongpaper

HDmall สรุปให้!
ปิด
- บางครั้งเมื่อร่างกายเกิดควาผิดปกติ เช่น เหนื่อยล้า ท้องผูก สิวขึ้น ผมร่วง อารมณ์แปรปรวน อาจเกิดจากฮอร์โมนในร่างกายหลั่งมาก / น้อยเกินไป
- การตรวจฮอร์โมนจึงอาจทำให้ทราบว่าอาการเหล่านั้นมีที่มาจากฮอร์โมนผิดปกติหรือไม่ จะได้หาทางรักษาได้ถูกต้อง
- สอบถามแอดมิน หรือให้แอดมินหาแพ็กเกจตรวจฮอร์โมนราคาดีๆ สถานที่ใกล้ๆ แตะที่นี่ได้เลย
- เช็กราคาจริงแพ็กเกจตรวจฮอร์โมนจากคลินิกและโรงพยาบาล จองผ่าน HDmall รับส่วนลด! แตะเลย
ฮอร์โมน (Hormone) คือสารเคมีในร่างกายที่ผลิตขึ้นจากกลุ่มเซลล์ในต่อมไร้ท่อต่างๆ เช่น ต่อมใต้สมอง (Pituitary gland) มดลูก รังไข่ ต่อมไทรอยด์ (Thyroid gland)
อธิบายให้เข้าใจง่ายๆ ฮอร์โมนแต่ละชนิดในร่างกายจะมีหน้าที่เฉพาะ แล้วเดินทางด้วยกระแสเลือด เพื่อไปบอกอวัยวะต่างๆ ว่าต้องทำหน้าที่อะไรบ้าง เช่น บอกให้นอน ให้หิว ให้เกิดการเผาผลาญพลังงาน ให้มีความรู้สึกนึกคิดต่างๆ รวมถึงมีอารมณ์ทางเพศ
หากฮอร์โมนผิดปกติ ไม่ว่ามีมากไปหรือน้อยไป ก็จะส่งผลให้ระบบของร่างกายผิดเพี้ยนไปด้วย เพราะร่างกายจะรับข้อมูลที่ผิดเพี้ยนนั่นเอง
ตรวจฮอร์โมนเพื่ออะไร ทำอย่างไร?
การตรวจฮอร์โมน เป็นไปเพื่อให้รู้ว่าฮอร์โมนแต่ละชนิดมีการหลั่งมากหรือน้อยกว่าปกติหรือไม่ เป็นหนึ่งในวิธีหาสาเหตุของความผิดปกติในร่างกาย เมื่อทราบว่าฮอร์โมนใดที่ผิดปกติแล้ว ก็สามารถสืบย้อนกลับไปได้ว่าฮอร์โมนตัวนั้นหลั่งออกมาจากต่อมใด จนพบปัญหาที่แท้จริง และแก้ปัญหาอย่างถูกต้อง ตรงจุด
วิธีตรวจฮอร์โมนสามารถทำได้ด้วยการตรวจเลือดหรือน้ำลาย ขึ้นอยู่กับชนิดฮอร์โมนที่ต้องการตรวจ
อาการแบบไหน อาจเกี่ยวกับฮอร์โมนผิดปกติ?
เนื่องจากฮอร์โมนเดินทางผ่านกระแสเลือดที่ไปเลี้ยงทุกส่วนของร่างกาย ทำให้อาการของฮอร์โมนผิดปกตินั้นค่อนข้างกว้างและเกิดขึ้นได้กับหลายส่วน ต่อไปนี้คือตัวอย่างอาการที่อาจเกี่ยวกับฮอร์โมนผิดปกติ
- เหนื่อยล้า บางรายอาจกล้ามเนื้ออ่อนแรงและปวดเมื่อย
- ท้องผูก ลำไส้ทำงานผิดปกติ
- ผิวแห้ง
- สิวขึ้นผิดปกติ
- หัวใจเต้นเร็วขึ้นหรือช้าลงผิดปกติ
- ปัสสาวะบ่อย หิวน้ำ หิวข้าวบ่อย
- ผมบาง ผมร่วงง่าย
- ความต้องการทางเพศลดลง ประจำเดือนผิดปกติ
- บางรายอาจมีบุตรยาก
- อารมณ์แปรปรวน หงุดหงิดง่าย ซึมเศร้า วิตกกังวล
แต่อย่างไรก็ตาม ฮอร์โมนเป็นหนึ่งในปัจจัยของอาการเหล่านี้เท่านั้น หากมีอาการดังที่กล่าวไปเกิดขึ้น ก็ไม่ได้หมายความว่าจะเกิดจากฮอร์โมนเสมอไป
ตัวอย่างชนิดฮอร์โมนที่สำคัญ
ตัวอย่างฮอร์โมนที่ทำหน้าที่สำคัญในร่างกาย ซึ่งมักมีในรายการตรวจฮอร์โมน เช่น
- ฮอร์โมนอินซูลิน (Insulin) ช่วยในการนำน้ำตาลเข้าเซลล์เพื่อไปใช้ให้พลังงาน
- ฮอร์โมนไทรอยด์ (TSH, T3, T4) ทำหน้าที่ควบคุมหลายระบบในร่างกาย เช่น ควบคุมน้ำหนักและการเผาผลาญพลังงานของเซลล์ ช่วยควบคุมอุณหภูมิในร่างกาย เกี่ยวข้องกับการสร้างผิว ผม เล็บ เป็นต้น
- ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต (Cortisol, Aldosterone, DHEA) ช่วยกำจัดความเครียด ควบคุมสมดุลแร่ธาตุในร่างกาย กระตุ้นความรู้สึกทางเพศ
- ฮอร์โมนเสริมสร้างและช่วยในการเจริญของเซลล์ (Growth hormone, IGF-1) เกี่ยวข้องกับเมตาบอลิซึม การเจริญเติบโต และการฟื้นฟูของเซลล์ต่างๆ ในร่างกาย
- ฮอร์โมนเพศ (Estradiols, Progesterone, LH, FSH, Testosterone) ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกายและการทำงานของระบบสืบพันธุ์
อย่างไรก็ตาม การตรวจฮอร์โมนอาจไม่ใช่วิธีเฉพาะเจาะจงอันดับแรกๆ หลังจากเข้าไปพบแพทย์ ดังนั้นหากต้องการตรวจฮอร์โมนอย่างละเอียด สามารถดูแพ็กเกจเสริมได้จาก HDmall
เปรียบเทียบราคา ตรวจฮอร์โมน จากคลินิกและโรงพยาบาลมากมาย พร้อมจองคิวผ่าน HDmall เพื่อรับส่วนลดหรือแคชแบ็กได้เลย
ที่มาของข้อมูล
Corinne O’Keefe Osborn, Everything You Should Know About Hormonal Imbalance, (https://www.healthline.com/health/hormonal-imbalance), 14 January 2020.
ศูนย์เรียนรู้ดิจิทัลระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี สสวท., ระบบต่อมไร้ท่อ (endocrine system), (https://www.scimath.org/lesson-biology/item/7123-2017-06-04-07-31-16), 4 มิถุนายน 2560.
ผมร่วงเป็นกระจุก อาการเรื้อรังหลังติดโควิด | TNN ประเด็นใหญ่ 29-10-2564
\”ผมร่วงฉับพลัน\” หนึ่งในอาการหลงเหลือ หลังหายป่วยโควิด19 หมอย้ำไม่ต้องกังวล อีก 4 เดือน ผมจะงอกใหม่เหมือนเดิม
ช่องทางติดตามสถานีข่าว TNN ช่อง16 https://www.tnnthailand.com https://tv.trueid.net/live/tnn16 https://www.youtube.com/c/tnn16 https://www.facebook.com/TNNthailand/ https://www.facebook.com/TNN16LIVE/ https://twitter.com/tnnthailand https://www.instagram.com/tnn_online/ https://www.tiktok.com/@tnnonline Line @TNNONLINE หรือคลิก https://lin.ee/4fP2tltIo ทันโลก ทันเศรษฐกิจ ทันทุกความจริง กับ TNNช่อง16 สถานีข่าวที่ถือหลักการของการนำเสนอข่าวตรงประเด็น รวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำ และเป็นกลาง โดยทีมข่าวมืออาชีพ
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่
นร.เทคโนฯเศร้า ฉีดซิโนแวค เข็มที่ 2 ได้มา \”1 ล้าน\” ผมทยอยร่วงหมดหัว | 18-11-64 | ไทยรัฐนิวส์โชว์
หนุ่มนักเรียนเทคโนฯ ที่ภูเก็ต รู้สึกเศร้า หลังฉีดวัคซีนเข็ม 2 \”ซิโนแวค\” แล้วผมทยอยร่วงเกือบทั้งหัว ไปหาหมอที่คลินิกบอกว่า \”วัคซีนทำให้เม็ดเลือดขาวผิดปกติ กลับมาทำร้ายตัวเองเหมือนโรคพุ่มพวง\” อยากให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องช่วยรักษา และเยียวยาด้วย
โควิด19
COVID19
ข่าวโควิดล่าสุด
กดติดตาม \u0026 กดกระดิ่ง : http://bit.ly/Subscribe_Thairath
ติดตามข่าวสำคัญไปกับเรา
Website : https://www.thairath.co.th
Website : https://www.thairath.co.th/tv
Facebook : https://www.facebook.com/thairath
Facebook : https://www.facebook.com/thairathtv
Twitter : https://twitter.com/Thairath_News
Twitter : https://twitter.com/Thairath_TV
Instagram : https://www.instagram.com/thairath
Instagram : https://www.instagram.com/thairathtv
Line : http://line.me/ti/p/@Thairath
Youtube : https://www.youtube.com/thairathonline
ติดต่อโฆษณา ออนไลน์
โทร. 021271111 ต่อ 2144
ผมร่วงแค่ไหนควรไปพบแพทย์? [หาหมอ by Mahidol Channel]
คนไข้ผมร่วงมาพบ พญ.ดรัลพร ไตรวงศ์วรนาถ ภาควิชาตจวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ม.มหิดล เนื่องจากมีภาวะผมร่วงเยอะมากหลังจากคลอดบุตร ร่วงจนมีคนทักว่าผมบางลง เลยเกิดความกังวลใจ
คุณหมอทำการตรวจหนังศีรษะโดยการใช้นิ้วมือสางเข้าไปที่ผม แล้วดึงผมดูว่ามีหลุดติดมือมาบ้างไหม ในคนไข้รายนี้การหลุดร่วงยังไม่ถือว่าผิดปกติ หมอแนะนำให้กินอาหารให้ครบ 5 หมู่ และพักผ่อนให้เพียงพอ ส่วนในรายที่ร่วงเยอะจะใช้ยากระตุ้นรากผม และทานวิตามินร่วมด้วย
ผมร่วง ผมบาง MahidolChannel
ติดตามชมคลิปความรู้เรื่องโรคและสุขภาพ ทุกวันอังคาร, พฤหัสฯ และเสาร์ เวลา 20.00 น.
ทาง YouTube: http://www.youtube.com/mahidolchannel
––––––––––––––––––––
ติดตามช่องทางใหม่ของ Mahidol Channel
ผ่าน LINE Official Account ได้แล้ววันนี้!
เพียงกดที่ลิงค์ https://lin.ee/d4KkmOg
หรือกดเพิ่มเพื่อน แล้วพิมพ์ @mahidolchannel ที่ช่องค้นหาของแอปพลิเคชัน LINE
––––––––––––––––––––
YouTube: http://www.youtube.com/mahidolchannel
Facebook: http://www.facebook.com/mahidolchannel
Mahidol University มหาวิทยาลัยมหิดล: https://www.mahidol.ac.th/th
Website | https://channel.mahidol.ac.th/
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล | http://www.si.mahidol.ac.th/th/
อาการผมร่วงผิดปกติ
[Beat Q\u0026A] \”ผมร่วง ผมบาง\” เพราะฮอร์โมนทำงานผิดปกติ ธาตุไฟมาก-ธาตุน้ำน้อย
Instagram :
https://www.instagram.com/yada.beat/
Facebook :
https://www.facebook.com/beatyourlimitthailand/
ติดต่องาน LINE : ms.suchanya
LINE นี้ไม่ใช่ญาดานะคะ ไม่สามารถตอบคำถามด้านสุขภาพได้ค่า
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Wiki
ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ ผม ร่วง ผิด ปกติ