[Update] อาการแพ้ยา สังเกตอย่างไร สัญญาณไหนที่บอกว่าเราแพ้ | แพ้ อากาศ อาการ – Sonduongpaper

แพ้ อากาศ อาการ: คุณกำลังดูกระทู้

           อาการแพ้ยา ความไม่สบายทางร่างกายที่ก้ำกึ่งว่าป่วยหรือแพ้ยา อยากรู้อาการแพ้ยาเป็นอย่างไร มีวิธีสังเกตอย่างไร มาเจาะลึกให้ชัดกันไปเลย


         
         

การใช้ยาในการรักษาโรคหรืออาการบางอย่าง
แม้ว่าจะเป็นคำสั่งจากแพทย์ แต่ก็ใช่ว่าจะมีความปลอดภัย 100%
เพราะร่างกายของคนเราไม่เหมือนกัน
จึงอาจจะทำให้เกิดอาการที่เรียกว่าการแพ้ยาได้ ทว่าการแพ้ยานั้นเป็นอย่างไร
มีวิธีในการสังเกตอย่างไรว่าเรากำลังแพ้ยา
อีกทั้งอันตรายของการแพ้ยานั้นรุนแรงมากขนาดไหน มารับทราบคำตอบพร้อม ๆ
กับเรียนรู้วิธีการใช้ยาอย่างไรให้ปลอดภัย เพื่อความปลอดภัยของสุขภาพค่ะ

         
อาการแพ้ยา
หนึ่งอันตรายของการใช้ยาที่เกิดจากปฏิกิริยาต่อต้านตัวยาของร่างกาย
โดยอาการแพ้ยาสามารถเกิดขึ้นกับยาได้ทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นยากิน ยาฉีด
ยาทา หรือยาดม
ซึ่งส่วนใหญ่แล้วอาการแพ้ยาจะขึ้นอยู่กับระบบภูมิคุ้มกันของแต่ละคนไป
หากผู้ป่วยมีระบบภูมิคุ้มกันที่ไวต่อยามากกว่าปกติก็อาจจะทำให้เกิดอาการแพ้ได้

          ทว่าอาการแพ้ยาก็คล้ายกับการแพ้อาหารทั่วไปที่จะไม่เกิดขึ้นกับทุกคน

และผู้ที่มีอาการแพ้ยาแต่ละคนก็อาจจะมีความรุนแรงของอาการไม่เท่ากันอีกด้วย
ทั้งนี้ยาที่มักจะพบการแพ้บ่อยก็ได้แก่ ยาต้านจุลชีพ หรือยาปฏิชีวนะ
ยาแก้ปวดลดไข้ ยาชา เซรุ่มต่าง ๆ น้ำเกลือ และเลือด เป็นต้น
ซึ่งจะว่าไปอาการแพ้ยาก็ถือเป็นเรื่องที่ต้องให้ความสำคัญ
และโดยปกติแล้วเมื่อไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาลก็มักจะมีการซักประวัติเรื่องการแพ้ยาด้วย
ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างมากที่ผู้ป่วยจะต้องรู้ว่าตัวเองแพ้ยาอะไร
เพื่อความปลอดภัยในการใช้ยาค่ะ

แพ้ยา

สาเหตุการแพ้ยา เกิดจากอะไร ?


          สาเหตุของการแพ้ยาสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้

1. เกิดจากฤทธิ์ของยาที่มีความรุนแรงเกินไป

         

การแพ้ยาด้วยสาเหตุนี้
ส่วนใหญ่จะเกิดจากปริมาณของยาที่ใช้
โดยอาการนี้อาจจะมาพร้อมกับอาการข้างเคียง อาทิ ยารักษาโรคความดันโลหิต
ที่ใช้ในการลดความดันโลหิตของผู้ป่วย
ถ้าหากใช้ยาในปริมาณที่สูงเกินไปก็จะทำให้ความดันเลือดต่ำผิดปกติ
และทำให้เกิดผลข้างเคียง เช่น หน้ามืด ใจสั่น เป็นต้น
ทว่าอาการแพ้ยาดังกล่าวอาจไม่ได้เกิดจากการใช้ยาเกินขนาดเท่านั้น
แต่อาจจะเกิดจากผู้ป่วยบางรายมีการสะสมของยาชนิดนั้นในปริมาณที่สูง
อันเนื่องมาจากการทำงานที่ผิดปกติของตับไตที่ไม่สามารถขับสารพิษออกมาจากร่างกายได้ดีเท่าที่ควรด้วยค่ะ

2. เกิดจากการแพ้ยา

         

อาการแพ้ยาที่เกิดจากสาเหตุนี้เป็นการแพ้ยาที่เกิดขึ้นกับระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายโดยตรง
ซึ่งอาการแพ้ยาประเภทนี้จะสามารถแบ่งได้อีก 4 ชนิด ได้แก่

          – การแพ้ยาที่ทำให้เกิดอาการร้ายแรง

         

การแพ้ยาชนิดนี้จะทำให้ร่างกายสร้างภูมิต้านทานขึ้นมาทำปฏิกิริยาและหลั่งสารที่ทำให้เกิดอาการแพ้ขึ้นมา
โดยอาการแพ้ดังกล่าวมักจะพบได้ในยากลุ่มเพนิซิลลิน
ซึ่งถ้าหากไม่รีบทำการรักษาอาจทำให้ถึงแก่ชีวิตได้

          – การแพ้ยาที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในร่างกาย

         
ยาที่ทำให้เกิดอาการแพ้ชนิดนี้คือยาในกลุ่มลดความดันโลหิตจำพวก methyldopa
โดยยาจะเข้าไปกระตุ้นภูมิต้านทานร่างกายให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
แล้วทำลายเนื้อเยื่อของร่างกายโดยตรง
บางครั้งก็อาจจะไปทำลายเม็ดเลือดขาวทำให้ร่างกายขาดภูมิต้านทาน
ส่งผลทำให้เกิดการติดเชื้อตามมาค่ะ

          – การแพ้ยาที่ทำให้เกิดการอักเสบ

         

การแพ้ยาชนิดนี้จะส่งผลให้ยาและภูมิต้านทานของร่างกายจับตัวกันแล้วตกเป็นตะกอนในอวัยวะต่าง
ๆ และทำให้เกิดการอักเสบ อาทิ
ตกตะกอนในหลอดเลือดทำให้เกิดอาการหลอดเลือดอักเสบ
หรือไปตกตะกอนในไตทำให้ไตอักเสบ เป็นต้น

         

– การแพ้ยาที่ทำให้เกิดลมพิษ

         
อาการแพ้ชนิดนี้เป็นอาการแพ้ที่พบได้บ่อยที่สุด
โดยเมื่อรับประทานยาเข้าไปแล้ว
ยาจะเข้าไปกระตุ้นให้เม็ดเลือดขาวหลั่งสารที่ทำให้เกิดอาการภูมิแพ้
และทำให้เกิดผื่นแพ้ยาขึ้นมาในที่สุด

         

ทั้งนี้อาการแพ้ยาที่พบได้มากที่สุดจะเป็นอาการแพ้ที่มาจากฤทธิ์ของยา
โดยสามารถพบได้ถึง 95% แต่มีความรุนแรงน้อยกว่า และอัตราการตายน้อย
ในขณะที่อีก 5% ที่เหลือมาจากการแพ้ยาโดยตรง แต่อาการจะรุนแรง
และอัตราการเสี่ยงชีวิตสูงกว่า
เนื่องจากแพทย์ไม่สามารถคาดเดาได้ว่าจะเกิดขึ้นกับใครบ้าง
และจะมีอาการอย่างไร

อาการแพ้ยา

อาการแพ้ยาเป็นอย่างไร ?

          อาการของการแพ้ยาโดยปกติแล้วจะแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม เรียงตามความรุนแรงของอาการแพ้ยา โดยสามารถแบ่งอาการบ่งชี้ได้ ดังนี้

1. กลุ่มที่มีอาการแพ้ไม่รุนแรง

         

ในกลุ่มที่มีอาการแพ้ยาในระดับนี้มักจะไม่อันตรายมากนัก
โดยจะสังเกตอาการแพ้ได้จากอาการลมพิษ ผื่นแดง มีจุดแดงหรือตุ่มน้ำใส ๆ
ขึ้นทั่วตัว ทั้งนี้ยังอาจมีอาการบวมตามอวัยวะต่าง ๆ อาทิ หนังตาบวม
ริมฝีปากบวม
ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วอาการแพ้ยาดังกล่าวจะเกิดขึ้นจากยาชนิดรับประทานมากกว่า

2. กลุ่มที่มีอาการแพ้ความรุนแรงปานกลาง

         
อาการแพ้ที่มีความรุนแรงปานกลางที่พบได้บ่อยที่สุดคืออาการใจสั่น
แน่นหน้าอก คลื่นไส้ อาเจียน
ทั้งนี้ยังอาจจะมีอาการหายใจติดขัดคล้ายกับอาการหืดหอบอีกด้วย
โดยมักจะมีต้นเหตุจากการใช้ยาประเภทฉีด

3. กลุ่มที่มีอาการแพ้ความรุนแรงสูง

         

อาการแพ้ยาในกลุ่มนี้มีความอันตรายมาก
โดยเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอาการช็อกจากการแพ้ (Anaphylactic Shock)
ซึ่งจะทำให้ผู้แพ้ยาเป็นลม ตัวเย็น ชีพจรเบาและเร็ว ความดันต่ำ
และหยุดหายใจ นอกจากนี้ยังอาจพบลักษณะพุพอง
ผิวหนังเปื่อยทั้งตัวคล้ายถูกไฟลวก ปากเปื่อย ตาอักเสบ ท่อปัสสาวะอักเสบ
มีไข้ โดยอาการเหล่านี้เรียกว่า กลุ่มอาการสตีเวนจอห์นสัน (Stevens
Johnson  Syndrome) ขณะที่บางรายที่มีอาการรุนแรงมาก ๆ
อาจจะถึงกับเสียชีวิตในขณะที่รับยาได้เช่นกัน
ซึ่งยาที่ทำให้เกิดอาการแพ้อย่างรุนแรงนี้จะเป็นยาปฏิชีวนะชนิดฉีดประเภทเพนิซิลลิน

         
ไม่เพียงเท่านั้น
อาการแพ้ยายังรวมถึงอาการแพ้น้ำเกลือและแพ้เลือดที่ควรระมัดระวังอีกด้วย
โดยการแพ้น้ำเกลือและแพ้เลือดจะทำให้เกิดอาการไข้ หนาวสั่นและลมพิษ
แต่จะไม่มีความอันตรายมากนักค่ะ

          นอกจากนี้ก็ยังมีอาการแพ้ยาที่มาจากยาแต่ละชนิดยังจำแนกได้ ดังนี้

1. อาการแพ้ยาคุมกำเนิด

อาการแพ้ยา

         

โดยส่วนใหญ่แล้วหลาย
ๆ คนมักจะคิดว่าอาการแพ้ยาคุมกำเนิดคืออาการคลื่นไส้ 
ซึ่งต้องขอบอกว่าจริง ๆ
แล้วอาการเหล่านั้นคือผลข้างเคียงจากการใช้ยาคุมกำเนิด
แต่อาการแพ้ยาคุมกำเนิดจริง ๆ จะมีแค่อาการแพ้ในระดับที่ไม่รุนแรง ได้แก่
อาการผื่นแดงหรือผื่นลมพิษเท่านั้น ซึ่งนับว่าไม่เป็นอันตรายค่ะ

2. อาการแพ้ยาปฏิชีวนะ

อาการแพ้ยา

         
อาการแพ้ยาปฏิชีวนะมีความรุนแรงแตกต่างกันตามชนิดของยา
โดยยาที่มักจะพบอาการแพ้ได้บ่อยที่สุดคือยาเพนิซิลลิน
โดยอาการแพ้ของยาชนิดนี้
หากเป็นยาชนิดรับประทานอาจจะทำให้เกิดผื่นแดงหรือผื่นลมพิษ
แต่ถ้าหากเป็นยาปฏิชีวนะชนิดฉีดอาจจะมีอาการแพ้ยาที่รุนแรงกว่า

         

โดยอาการแพ้อย่างรุนแรงของยาฉีดในกลุ่มนี้จะทำให้เกิดอาการบวม
ความดันโลหิตต่ำ เป็นลม ตัวเย็น ชีพจรต่ำและเบา
ซึ่งถ้าได้รับการรักษาไม่ทันอาจจะทำให้หยุดหายใจและเสียชีวิตได้

3. อาการแพ้ยาคลายกล้ามเนื้อ

         
ยาคลายกล้ามเนื้อ เป็นยาที่มีการใช้กันอย่างแพร่หลาย
โดยคนส่วนใหญ่มักจะคิดว่าอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงหรือง่วงซึม
เกิดขึ้นจากอาการแพ้ยา แต่จริง ๆ
แล้วนั่นเป็นเพียงแค่ผลข้างเคียงจากยาเท่านั้น
ทว่าอาการแพ้ยาดังกล่าวจะสามารถสังเกตได้จากผื่นลมพิษที่ขึ้นตามผิวหนัง
โดยอาการแพ้จะไม่รุนแรง
แต่ก็ไม่ควรชะล่าใจเพราะบางรายอาจมีอาการแพ้จนถึงกับช็อกได้เช่นกัน
ดังนั้นหากเริ่มมีความผิดปกติควรเลิกใช้ยาดังกล่าวโดยทันที
หรือจะให้ดีก็รีบไปพบแพทย์

4. อาการแพ้ยาลดความอ้วน

         

อาการแพ้ยาลดความอ้วนนั้นมีหลากหลายอาการ
ขึ้นอยู่กับส่วนผสมของยา โดยหากเป็นอาการแพ้โดยทั่วไปจะเป็นผื่นแดง
หรือลมพิษเกิดขึ้นตามบริเวณต่าง ๆ ของร่างกาย
แต่ถ้าหากเป็นอาการแพ้ที่รุนแรงอาจทำให้เกิดอาการแน่นหน้าอก ใจสั่น
บางรายอาจมีอาการผิวหนังไหม้ เกิดอาการช็อก
และอาจเสียชีวิตได้หากรักษาไม่ทัน

5. อาการแพ้ยาพาราเซตามอล

อาการแพ้ยา

         
ยาพาราเซตามอลเป็นยาสามัญประจำบ้านที่มีสรรพคุณช่วยลดอาการปวด
ซึ่งอาการแพ้ยาพาราเซตามอลนี้อาจจะขึ้นอยู่กับยี่ห้อของยาด้วย
เพราะบางรายอาจแพ้ยาพาราเซตามอลยี่ห้อหนึ่ง
แต่เมื่อเปลี่ยนยี่ห้อของยาก็ไม่มีอาการแพ้
โดยอาการแพ้อาจจะมีตั้งแต่ไม่รุนแรง คือ มีผื่นแดงขึ้นตามผิวหนัง
หรือมีอาการแน่นหน้าอกเล็กน้อย ไปจนถึงเกิดอาการช็อกอย่างรุนแรงได้ 

วิธีการรักษาอาการแพ้ยา

See also  สอนบริหารแก้อาการ ปวดต้นคอร้าวลงแขน กล้ามเนื้อหนีบเส้นที่ต้นคอและรักแร้ | ซีรีย์เจาะโรค TOS EP.4 | อาการ ปวด แขนขวา

          การรักษาอาการแพ้ยานั้น
สิ่งที่ควรทำเป็นอย่างแรกก็คือหยุดใช้ยาดังกล่าวโดยทันทีเมื่อเกิดอาการดังที่กล่าวมา จากนั้นจึงจะทำการรักษาไปตามความรุนแรงของอาการโดยแบ่งออกเป็น 3
กลุ่มใหญ่ ๆ ดังนี้

        
1. อาการแพ้ไม่รุนแรง

         
สำหรับผู้ป่วยที่มีอาการแพ้แค่เพียงเล็กน้อย
หลังจากเลิกใช้ยาที่แพ้แล้วก็ควรรับประทานยาแก้แพ้ เช่น ยาคลอเฟนิรามีน
(Chlopheniramine) โดยให้รับประทานวันละ 3-4 ครั้ง ครั้งละ 1/2-1 เม็ด
จนกว่าจะหาย หรือฉีดยาไดเฟนไฮดรามีน (Diphenhydramine) เข้ากล้ามเนื้อ

2. อาการแพ้ปานกลาง หรือรุนแรง

         

ในกลุ่มที่มีอาการแพ้ยาปานกลางหรือรุนแรง
ยากินจะไม่สามารถช่วยรักษาได้ดังนั้นต้องให้แพทย์ฉีดยาให้
โดยจะให้ยาอะดรีนาลีน (Adrenaline) 0.3-0.5 มิลลิกรัม หรือสเตียรอยด์ 1-2
หลอด ผ่านการฉีดเข้ากล้ามเนื้อหรือหลอดเลือดในทันที
แต่ถ้าหากมีอาการแพ้จนหยุดหายใจควรรีบทำการผายปอดพร้อมกับฉีดอะดรีนาลีน
(Adrenaline) เพื่อลดอาการแพ้

อาการแพ้ยาอาการแพ้ยา

3. อาการแพ้ในกลุ่มสตีเวนจอห์นสัน (Stevens Johnson  Syndrome)

         
ในกลุ่มที่มีอาการแพ้ยาปฏิชีวนะอย่างรุนแรงกลุ่มนี้
หากมีอาการแพ้ควรรีบรับประทานยาแก้แพ้
หรือสเตียรอยด์แล้วนำส่งโรงพยาบาลในทันที
เพราะอาจมีอาการติดเชื้อแทรกซ้อนทำให้เกิดภาวะโลหิตเป็นพิษจนถึงแก่ชีวิตได้

         

อาการแพ้ยาแม้ว่าจะไม่เกิดขึ้นกับทุกคนแต่ก็เป็นเรื่องที่ละเลยไม่ได้
เพราะเราไม่สามารถทราบได้ว่ายาชนิดใดจะทำให้เราเกิดอาการแพ้
และอาการแพ้จะรุนแรงมากแค่ไหน และเพื่อหลีกเลี่ยงอาการแพ้ยาที่อาจเกิดขึ้น
สิ่งที่สำคัญที่สุดก็คือควรหมั่นสังเกตอาการของตนเองให้มากขึ้นโดยเฉพาะหลังจากการใช้ยา
ซึ่งถ้าหากเกิดความผิดปกติขึ้นกับร่างกายโดยไม่ทราบสาเหตุ
ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าอาจมาจากการแพ้ยา
แล้วรีบไปพบแพทย์เพื่อตรวจให้แน่ใจว่าเป็นอาการแพ้ยาจริงหรือไม่

         
นอกจากนี้ยังควรจดจำให้ดีว่าตนเองแพ้ยาอะไรบ้าง
ซึ่งควรจดจำชื่อยาให้ได้อย่างแม่นยำ
และเพื่อความรอบคอบควรจดชื่อยาอย่างละเอียดใส่กระเป๋าติดตัวไว้เผื่อเหตุการณ์ฉุกเฉินด้วย
อีกทั้งหากมีความจำเป็นต้องไปพบแพทย์มากกว่า 1 คน
ควรแจ้งให้แพทย์ทราบถึงยาที่ใช้อยู่และยาที่แพ้ด้วย
เนื่องจากยาบางชนิดมีส่วนผสมเดียวกัน
และส่วนผสมนั้นอาจจะทำให้เกิดอาการแพ้ได้
ซึ่งถ้าหากแพทย์ทราบก็จะสามารถจัดยาที่ปลอดภัยได้มากขึ้นค่ะ

ขอบคุณข้อมูลจาก
หมอชาวบ้าน
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอรัตภูมิ
ศูนย์สื่อสารวิทยาศาสตรไทย สวทช.
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
National Center for Biotechnology Information, U.S. National Library of Medicine

สาเหตุของการแพ้ยาสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้อาการแพ้ยาที่เกิดจากสาเหตุนี้เป็นการแพ้ยาที่เกิดขึ้นกับระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายโดยตรง ซึ่งอาการแพ้ยาประเภทนี้จะสามารถแบ่งได้อีก 4 ชนิด ได้แก่ยาที่ทำให้เกิดอาการแพ้ชนิดนี้คือยาในกลุ่มลดความดันโลหิตจำพวก methyldopa โดยยาจะเข้าไปกระตุ้นภูมิต้านทานร่างกายให้เกิดการเปลี่ยนแปลง แล้วทำลายเนื้อเยื่อของร่างกายโดยตรง บางครั้งก็อาจจะไปทำลายเม็ดเลือดขาวทำให้ร่างกายขาดภูมิต้านทาน ส่งผลทำให้เกิดการติดเชื้อตามมาค่ะอาการแพ้ชนิดนี้เป็นอาการแพ้ที่พบได้บ่อยที่สุด โดยเมื่อรับประทานยาเข้าไปแล้ว ยาจะเข้าไปกระตุ้นให้เม็ดเลือดขาวหลั่งสารที่ทำให้เกิดอาการภูมิแพ้ และทำให้เกิดผื่นแพ้ยาขึ้นมาในที่สุดอาการของการแพ้ยาโดยปกติแล้วจะแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม เรียงตามความรุนแรงของอาการแพ้ยา โดยสามารถแบ่งอาการบ่งชี้ได้ ดังนี้อาการแพ้ที่มีความรุนแรงปานกลางที่พบได้บ่อยที่สุดคืออาการใจสั่น แน่นหน้าอก คลื่นไส้ อาเจียน ทั้งนี้ยังอาจจะมีอาการหายใจติดขัดคล้ายกับอาการหืดหอบอีกด้วย โดยมักจะมีต้นเหตุจากการใช้ยาประเภทฉีดไม่เพียงเท่านั้น อาการแพ้ยายังรวมถึงอาการแพ้น้ำเกลือและแพ้เลือดที่ควรระมัดระวังอีกด้วย โดยการแพ้น้ำเกลือและแพ้เลือดจะทำให้เกิดอาการไข้ หนาวสั่นและลมพิษ แต่จะไม่มีความอันตรายมากนักค่ะนอกจากนี้ก็ยังมีอาการแพ้ยาที่มาจากยาแต่ละชนิดยังจำแนกได้ ดังนี้อาการแพ้ยาปฏิชีวนะมีความรุนแรงแตกต่างกันตามชนิดของยา โดยยาที่มักจะพบอาการแพ้ได้บ่อยที่สุดคือยาเพนิซิลลิน โดยอาการแพ้ของยาชนิดนี้ หากเป็นยาชนิดรับประทานอาจจะทำให้เกิดผื่นแดงหรือผื่นลมพิษ แต่ถ้าหากเป็นยาปฏิชีวนะชนิดฉีดอาจจะมีอาการแพ้ยาที่รุนแรงกว่ายาคลายกล้ามเนื้อ เป็นยาที่มีการใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยคนส่วนใหญ่มักจะคิดว่าอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงหรือง่วงซึม เกิดขึ้นจากอาการแพ้ยา แต่จริง ๆ แล้วนั่นเป็นเพียงแค่ผลข้างเคียงจากยาเท่านั้น ทว่าอาการแพ้ยาดังกล่าวจะสามารถสังเกตได้จากผื่นลมพิษที่ขึ้นตามผิวหนัง โดยอาการแพ้จะไม่รุนแรง แต่ก็ไม่ควรชะล่าใจเพราะบางรายอาจมีอาการแพ้จนถึงกับช็อกได้เช่นกัน ดังนั้นหากเริ่มมีความผิดปกติควรเลิกใช้ยาดังกล่าวโดยทันที หรือจะให้ดีก็รีบไปพบแพทย์ยาพาราเซตามอลเป็นยาสามัญประจำบ้านที่มีสรรพคุณช่วยลดอาการปวด ซึ่งอาการแพ้ยาพาราเซตามอลนี้อาจจะขึ้นอยู่กับยี่ห้อของยาด้วย เพราะบางรายอาจแพ้ยาพาราเซตามอลยี่ห้อหนึ่ง แต่เมื่อเปลี่ยนยี่ห้อของยาก็ไม่มีอาการแพ้ โดยอาการแพ้อาจจะมีตั้งแต่ไม่รุนแรง คือ มีผื่นแดงขึ้นตามผิวหนัง หรือมีอาการแน่นหน้าอกเล็กน้อย ไปจนถึงเกิดอาการช็อกอย่างรุนแรงได้สำหรับผู้ป่วยที่มีอาการแพ้แค่เพียงเล็กน้อย หลังจากเลิกใช้ยาที่แพ้แล้วก็ควรรับประทานยาแก้แพ้ เช่น ยาคลอเฟนิรามีน (Chlopheniramine) โดยให้รับประทานวันละ 3-4 ครั้ง ครั้งละ 1/2-1 เม็ด จนกว่าจะหาย หรือฉีดยาไดเฟนไฮดรามีน (Diphenhydramine) เข้ากล้ามเนื้อในกลุ่มที่มีอาการแพ้ยาปฏิชีวนะอย่างรุนแรงกลุ่มนี้ หากมีอาการแพ้ควรรีบรับประทานยาแก้แพ้ หรือสเตียรอยด์แล้วนำส่งโรงพยาบาลในทันที เพราะอาจมีอาการติดเชื้อแทรกซ้อนทำให้เกิดภาวะโลหิตเป็นพิษจนถึงแก่ชีวิตได้ขอบคุณข้อมูลจากNational Center for Biotechnology Information, U.S. National Library of Medicine

[Update] อาการแพ้ยา สังเกตอย่างไร สัญญาณไหนที่บอกว่าเราแพ้ | แพ้ อากาศ อาการ – Sonduongpaper

           อาการแพ้ยา ความไม่สบายทางร่างกายที่ก้ำกึ่งว่าป่วยหรือแพ้ยา อยากรู้อาการแพ้ยาเป็นอย่างไร มีวิธีสังเกตอย่างไร มาเจาะลึกให้ชัดกันไปเลย


         
         

การใช้ยาในการรักษาโรคหรืออาการบางอย่าง
แม้ว่าจะเป็นคำสั่งจากแพทย์ แต่ก็ใช่ว่าจะมีความปลอดภัย 100%
เพราะร่างกายของคนเราไม่เหมือนกัน
จึงอาจจะทำให้เกิดอาการที่เรียกว่าการแพ้ยาได้ ทว่าการแพ้ยานั้นเป็นอย่างไร
มีวิธีในการสังเกตอย่างไรว่าเรากำลังแพ้ยา
อีกทั้งอันตรายของการแพ้ยานั้นรุนแรงมากขนาดไหน มารับทราบคำตอบพร้อม ๆ
กับเรียนรู้วิธีการใช้ยาอย่างไรให้ปลอดภัย เพื่อความปลอดภัยของสุขภาพค่ะ

         
อาการแพ้ยา
หนึ่งอันตรายของการใช้ยาที่เกิดจากปฏิกิริยาต่อต้านตัวยาของร่างกาย
โดยอาการแพ้ยาสามารถเกิดขึ้นกับยาได้ทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นยากิน ยาฉีด
ยาทา หรือยาดม
ซึ่งส่วนใหญ่แล้วอาการแพ้ยาจะขึ้นอยู่กับระบบภูมิคุ้มกันของแต่ละคนไป
หากผู้ป่วยมีระบบภูมิคุ้มกันที่ไวต่อยามากกว่าปกติก็อาจจะทำให้เกิดอาการแพ้ได้

          ทว่าอาการแพ้ยาก็คล้ายกับการแพ้อาหารทั่วไปที่จะไม่เกิดขึ้นกับทุกคน

และผู้ที่มีอาการแพ้ยาแต่ละคนก็อาจจะมีความรุนแรงของอาการไม่เท่ากันอีกด้วย
ทั้งนี้ยาที่มักจะพบการแพ้บ่อยก็ได้แก่ ยาต้านจุลชีพ หรือยาปฏิชีวนะ
ยาแก้ปวดลดไข้ ยาชา เซรุ่มต่าง ๆ น้ำเกลือ และเลือด เป็นต้น
ซึ่งจะว่าไปอาการแพ้ยาก็ถือเป็นเรื่องที่ต้องให้ความสำคัญ
และโดยปกติแล้วเมื่อไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาลก็มักจะมีการซักประวัติเรื่องการแพ้ยาด้วย
ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างมากที่ผู้ป่วยจะต้องรู้ว่าตัวเองแพ้ยาอะไร
เพื่อความปลอดภัยในการใช้ยาค่ะ

แพ้ยา

สาเหตุการแพ้ยา เกิดจากอะไร ?


          สาเหตุของการแพ้ยาสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้

1. เกิดจากฤทธิ์ของยาที่มีความรุนแรงเกินไป

         

การแพ้ยาด้วยสาเหตุนี้
ส่วนใหญ่จะเกิดจากปริมาณของยาที่ใช้
โดยอาการนี้อาจจะมาพร้อมกับอาการข้างเคียง อาทิ ยารักษาโรคความดันโลหิต
ที่ใช้ในการลดความดันโลหิตของผู้ป่วย
ถ้าหากใช้ยาในปริมาณที่สูงเกินไปก็จะทำให้ความดันเลือดต่ำผิดปกติ
และทำให้เกิดผลข้างเคียง เช่น หน้ามืด ใจสั่น เป็นต้น
ทว่าอาการแพ้ยาดังกล่าวอาจไม่ได้เกิดจากการใช้ยาเกินขนาดเท่านั้น
แต่อาจจะเกิดจากผู้ป่วยบางรายมีการสะสมของยาชนิดนั้นในปริมาณที่สูง
อันเนื่องมาจากการทำงานที่ผิดปกติของตับไตที่ไม่สามารถขับสารพิษออกมาจากร่างกายได้ดีเท่าที่ควรด้วยค่ะ

See also  Stupid white guy goes to Thai market in Sydney, then speaks Thai. Thais shocked. | ออสเตรียเลีย

2. เกิดจากการแพ้ยา

         

อาการแพ้ยาที่เกิดจากสาเหตุนี้เป็นการแพ้ยาที่เกิดขึ้นกับระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายโดยตรง
ซึ่งอาการแพ้ยาประเภทนี้จะสามารถแบ่งได้อีก 4 ชนิด ได้แก่

          – การแพ้ยาที่ทำให้เกิดอาการร้ายแรง

         

การแพ้ยาชนิดนี้จะทำให้ร่างกายสร้างภูมิต้านทานขึ้นมาทำปฏิกิริยาและหลั่งสารที่ทำให้เกิดอาการแพ้ขึ้นมา
โดยอาการแพ้ดังกล่าวมักจะพบได้ในยากลุ่มเพนิซิลลิน
ซึ่งถ้าหากไม่รีบทำการรักษาอาจทำให้ถึงแก่ชีวิตได้

          – การแพ้ยาที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในร่างกาย

         
ยาที่ทำให้เกิดอาการแพ้ชนิดนี้คือยาในกลุ่มลดความดันโลหิตจำพวก methyldopa
โดยยาจะเข้าไปกระตุ้นภูมิต้านทานร่างกายให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
แล้วทำลายเนื้อเยื่อของร่างกายโดยตรง
บางครั้งก็อาจจะไปทำลายเม็ดเลือดขาวทำให้ร่างกายขาดภูมิต้านทาน
ส่งผลทำให้เกิดการติดเชื้อตามมาค่ะ

          – การแพ้ยาที่ทำให้เกิดการอักเสบ

         

การแพ้ยาชนิดนี้จะส่งผลให้ยาและภูมิต้านทานของร่างกายจับตัวกันแล้วตกเป็นตะกอนในอวัยวะต่าง
ๆ และทำให้เกิดการอักเสบ อาทิ
ตกตะกอนในหลอดเลือดทำให้เกิดอาการหลอดเลือดอักเสบ
หรือไปตกตะกอนในไตทำให้ไตอักเสบ เป็นต้น

         

– การแพ้ยาที่ทำให้เกิดลมพิษ

         
อาการแพ้ชนิดนี้เป็นอาการแพ้ที่พบได้บ่อยที่สุด
โดยเมื่อรับประทานยาเข้าไปแล้ว
ยาจะเข้าไปกระตุ้นให้เม็ดเลือดขาวหลั่งสารที่ทำให้เกิดอาการภูมิแพ้
และทำให้เกิดผื่นแพ้ยาขึ้นมาในที่สุด

         

ทั้งนี้อาการแพ้ยาที่พบได้มากที่สุดจะเป็นอาการแพ้ที่มาจากฤทธิ์ของยา
โดยสามารถพบได้ถึง 95% แต่มีความรุนแรงน้อยกว่า และอัตราการตายน้อย
ในขณะที่อีก 5% ที่เหลือมาจากการแพ้ยาโดยตรง แต่อาการจะรุนแรง
และอัตราการเสี่ยงชีวิตสูงกว่า
เนื่องจากแพทย์ไม่สามารถคาดเดาได้ว่าจะเกิดขึ้นกับใครบ้าง
และจะมีอาการอย่างไร

อาการแพ้ยา

อาการแพ้ยาเป็นอย่างไร ?

          อาการของการแพ้ยาโดยปกติแล้วจะแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม เรียงตามความรุนแรงของอาการแพ้ยา โดยสามารถแบ่งอาการบ่งชี้ได้ ดังนี้

1. กลุ่มที่มีอาการแพ้ไม่รุนแรง

         

ในกลุ่มที่มีอาการแพ้ยาในระดับนี้มักจะไม่อันตรายมากนัก
โดยจะสังเกตอาการแพ้ได้จากอาการลมพิษ ผื่นแดง มีจุดแดงหรือตุ่มน้ำใส ๆ
ขึ้นทั่วตัว ทั้งนี้ยังอาจมีอาการบวมตามอวัยวะต่าง ๆ อาทิ หนังตาบวม
ริมฝีปากบวม
ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วอาการแพ้ยาดังกล่าวจะเกิดขึ้นจากยาชนิดรับประทานมากกว่า

2. กลุ่มที่มีอาการแพ้ความรุนแรงปานกลาง

         
อาการแพ้ที่มีความรุนแรงปานกลางที่พบได้บ่อยที่สุดคืออาการใจสั่น
แน่นหน้าอก คลื่นไส้ อาเจียน
ทั้งนี้ยังอาจจะมีอาการหายใจติดขัดคล้ายกับอาการหืดหอบอีกด้วย
โดยมักจะมีต้นเหตุจากการใช้ยาประเภทฉีด

3. กลุ่มที่มีอาการแพ้ความรุนแรงสูง

         

อาการแพ้ยาในกลุ่มนี้มีความอันตรายมาก
โดยเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอาการช็อกจากการแพ้ (Anaphylactic Shock)
ซึ่งจะทำให้ผู้แพ้ยาเป็นลม ตัวเย็น ชีพจรเบาและเร็ว ความดันต่ำ
และหยุดหายใจ นอกจากนี้ยังอาจพบลักษณะพุพอง
ผิวหนังเปื่อยทั้งตัวคล้ายถูกไฟลวก ปากเปื่อย ตาอักเสบ ท่อปัสสาวะอักเสบ
มีไข้ โดยอาการเหล่านี้เรียกว่า กลุ่มอาการสตีเวนจอห์นสัน (Stevens
Johnson  Syndrome) ขณะที่บางรายที่มีอาการรุนแรงมาก ๆ
อาจจะถึงกับเสียชีวิตในขณะที่รับยาได้เช่นกัน
ซึ่งยาที่ทำให้เกิดอาการแพ้อย่างรุนแรงนี้จะเป็นยาปฏิชีวนะชนิดฉีดประเภทเพนิซิลลิน

         
ไม่เพียงเท่านั้น
อาการแพ้ยายังรวมถึงอาการแพ้น้ำเกลือและแพ้เลือดที่ควรระมัดระวังอีกด้วย
โดยการแพ้น้ำเกลือและแพ้เลือดจะทำให้เกิดอาการไข้ หนาวสั่นและลมพิษ
แต่จะไม่มีความอันตรายมากนักค่ะ

          นอกจากนี้ก็ยังมีอาการแพ้ยาที่มาจากยาแต่ละชนิดยังจำแนกได้ ดังนี้

1. อาการแพ้ยาคุมกำเนิด

อาการแพ้ยา

         

โดยส่วนใหญ่แล้วหลาย
ๆ คนมักจะคิดว่าอาการแพ้ยาคุมกำเนิดคืออาการคลื่นไส้ 
ซึ่งต้องขอบอกว่าจริง ๆ
แล้วอาการเหล่านั้นคือผลข้างเคียงจากการใช้ยาคุมกำเนิด
แต่อาการแพ้ยาคุมกำเนิดจริง ๆ จะมีแค่อาการแพ้ในระดับที่ไม่รุนแรง ได้แก่
อาการผื่นแดงหรือผื่นลมพิษเท่านั้น ซึ่งนับว่าไม่เป็นอันตรายค่ะ

2. อาการแพ้ยาปฏิชีวนะ

อาการแพ้ยา

         
อาการแพ้ยาปฏิชีวนะมีความรุนแรงแตกต่างกันตามชนิดของยา
โดยยาที่มักจะพบอาการแพ้ได้บ่อยที่สุดคือยาเพนิซิลลิน
โดยอาการแพ้ของยาชนิดนี้
หากเป็นยาชนิดรับประทานอาจจะทำให้เกิดผื่นแดงหรือผื่นลมพิษ
แต่ถ้าหากเป็นยาปฏิชีวนะชนิดฉีดอาจจะมีอาการแพ้ยาที่รุนแรงกว่า

         

โดยอาการแพ้อย่างรุนแรงของยาฉีดในกลุ่มนี้จะทำให้เกิดอาการบวม
ความดันโลหิตต่ำ เป็นลม ตัวเย็น ชีพจรต่ำและเบา
ซึ่งถ้าได้รับการรักษาไม่ทันอาจจะทำให้หยุดหายใจและเสียชีวิตได้

3. อาการแพ้ยาคลายกล้ามเนื้อ

         
ยาคลายกล้ามเนื้อ เป็นยาที่มีการใช้กันอย่างแพร่หลาย
โดยคนส่วนใหญ่มักจะคิดว่าอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงหรือง่วงซึม
เกิดขึ้นจากอาการแพ้ยา แต่จริง ๆ
แล้วนั่นเป็นเพียงแค่ผลข้างเคียงจากยาเท่านั้น
ทว่าอาการแพ้ยาดังกล่าวจะสามารถสังเกตได้จากผื่นลมพิษที่ขึ้นตามผิวหนัง
โดยอาการแพ้จะไม่รุนแรง
แต่ก็ไม่ควรชะล่าใจเพราะบางรายอาจมีอาการแพ้จนถึงกับช็อกได้เช่นกัน
ดังนั้นหากเริ่มมีความผิดปกติควรเลิกใช้ยาดังกล่าวโดยทันที
หรือจะให้ดีก็รีบไปพบแพทย์

4. อาการแพ้ยาลดความอ้วน

         

อาการแพ้ยาลดความอ้วนนั้นมีหลากหลายอาการ
ขึ้นอยู่กับส่วนผสมของยา โดยหากเป็นอาการแพ้โดยทั่วไปจะเป็นผื่นแดง
หรือลมพิษเกิดขึ้นตามบริเวณต่าง ๆ ของร่างกาย
แต่ถ้าหากเป็นอาการแพ้ที่รุนแรงอาจทำให้เกิดอาการแน่นหน้าอก ใจสั่น
บางรายอาจมีอาการผิวหนังไหม้ เกิดอาการช็อก
และอาจเสียชีวิตได้หากรักษาไม่ทัน

5. อาการแพ้ยาพาราเซตามอล

อาการแพ้ยา

         
ยาพาราเซตามอลเป็นยาสามัญประจำบ้านที่มีสรรพคุณช่วยลดอาการปวด
ซึ่งอาการแพ้ยาพาราเซตามอลนี้อาจจะขึ้นอยู่กับยี่ห้อของยาด้วย
เพราะบางรายอาจแพ้ยาพาราเซตามอลยี่ห้อหนึ่ง
แต่เมื่อเปลี่ยนยี่ห้อของยาก็ไม่มีอาการแพ้
โดยอาการแพ้อาจจะมีตั้งแต่ไม่รุนแรง คือ มีผื่นแดงขึ้นตามผิวหนัง
หรือมีอาการแน่นหน้าอกเล็กน้อย ไปจนถึงเกิดอาการช็อกอย่างรุนแรงได้ 

วิธีการรักษาอาการแพ้ยา

          การรักษาอาการแพ้ยานั้น
สิ่งที่ควรทำเป็นอย่างแรกก็คือหยุดใช้ยาดังกล่าวโดยทันทีเมื่อเกิดอาการดังที่กล่าวมา จากนั้นจึงจะทำการรักษาไปตามความรุนแรงของอาการโดยแบ่งออกเป็น 3
กลุ่มใหญ่ ๆ ดังนี้

        
1. อาการแพ้ไม่รุนแรง

         
สำหรับผู้ป่วยที่มีอาการแพ้แค่เพียงเล็กน้อย
หลังจากเลิกใช้ยาที่แพ้แล้วก็ควรรับประทานยาแก้แพ้ เช่น ยาคลอเฟนิรามีน
(Chlopheniramine) โดยให้รับประทานวันละ 3-4 ครั้ง ครั้งละ 1/2-1 เม็ด
จนกว่าจะหาย หรือฉีดยาไดเฟนไฮดรามีน (Diphenhydramine) เข้ากล้ามเนื้อ

2. อาการแพ้ปานกลาง หรือรุนแรง

         

ในกลุ่มที่มีอาการแพ้ยาปานกลางหรือรุนแรง
ยากินจะไม่สามารถช่วยรักษาได้ดังนั้นต้องให้แพทย์ฉีดยาให้
โดยจะให้ยาอะดรีนาลีน (Adrenaline) 0.3-0.5 มิลลิกรัม หรือสเตียรอยด์ 1-2
หลอด ผ่านการฉีดเข้ากล้ามเนื้อหรือหลอดเลือดในทันที
แต่ถ้าหากมีอาการแพ้จนหยุดหายใจควรรีบทำการผายปอดพร้อมกับฉีดอะดรีนาลีน
(Adrenaline) เพื่อลดอาการแพ้

อาการแพ้ยาอาการแพ้ยา

3. อาการแพ้ในกลุ่มสตีเวนจอห์นสัน (Stevens Johnson  Syndrome)

         
ในกลุ่มที่มีอาการแพ้ยาปฏิชีวนะอย่างรุนแรงกลุ่มนี้
หากมีอาการแพ้ควรรีบรับประทานยาแก้แพ้
หรือสเตียรอยด์แล้วนำส่งโรงพยาบาลในทันที
เพราะอาจมีอาการติดเชื้อแทรกซ้อนทำให้เกิดภาวะโลหิตเป็นพิษจนถึงแก่ชีวิตได้

         

อาการแพ้ยาแม้ว่าจะไม่เกิดขึ้นกับทุกคนแต่ก็เป็นเรื่องที่ละเลยไม่ได้
เพราะเราไม่สามารถทราบได้ว่ายาชนิดใดจะทำให้เราเกิดอาการแพ้
และอาการแพ้จะรุนแรงมากแค่ไหน และเพื่อหลีกเลี่ยงอาการแพ้ยาที่อาจเกิดขึ้น
สิ่งที่สำคัญที่สุดก็คือควรหมั่นสังเกตอาการของตนเองให้มากขึ้นโดยเฉพาะหลังจากการใช้ยา
ซึ่งถ้าหากเกิดความผิดปกติขึ้นกับร่างกายโดยไม่ทราบสาเหตุ
ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าอาจมาจากการแพ้ยา
แล้วรีบไปพบแพทย์เพื่อตรวจให้แน่ใจว่าเป็นอาการแพ้ยาจริงหรือไม่

         
นอกจากนี้ยังควรจดจำให้ดีว่าตนเองแพ้ยาอะไรบ้าง
ซึ่งควรจดจำชื่อยาให้ได้อย่างแม่นยำ
และเพื่อความรอบคอบควรจดชื่อยาอย่างละเอียดใส่กระเป๋าติดตัวไว้เผื่อเหตุการณ์ฉุกเฉินด้วย
อีกทั้งหากมีความจำเป็นต้องไปพบแพทย์มากกว่า 1 คน
ควรแจ้งให้แพทย์ทราบถึงยาที่ใช้อยู่และยาที่แพ้ด้วย
เนื่องจากยาบางชนิดมีส่วนผสมเดียวกัน
และส่วนผสมนั้นอาจจะทำให้เกิดอาการแพ้ได้
ซึ่งถ้าหากแพทย์ทราบก็จะสามารถจัดยาที่ปลอดภัยได้มากขึ้นค่ะ

See also  รักษาโรคเชื้อราที่ผิวหนัง - ต้องทายา กินยาอะไรบ้าง? | โรคเชื้อราผิวหนัง

ขอบคุณข้อมูลจาก
หมอชาวบ้าน
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอรัตภูมิ
ศูนย์สื่อสารวิทยาศาสตรไทย สวทช.
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
National Center for Biotechnology Information, U.S. National Library of Medicine

สาเหตุของการแพ้ยาสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้อาการแพ้ยาที่เกิดจากสาเหตุนี้เป็นการแพ้ยาที่เกิดขึ้นกับระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายโดยตรง ซึ่งอาการแพ้ยาประเภทนี้จะสามารถแบ่งได้อีก 4 ชนิด ได้แก่ยาที่ทำให้เกิดอาการแพ้ชนิดนี้คือยาในกลุ่มลดความดันโลหิตจำพวก methyldopa โดยยาจะเข้าไปกระตุ้นภูมิต้านทานร่างกายให้เกิดการเปลี่ยนแปลง แล้วทำลายเนื้อเยื่อของร่างกายโดยตรง บางครั้งก็อาจจะไปทำลายเม็ดเลือดขาวทำให้ร่างกายขาดภูมิต้านทาน ส่งผลทำให้เกิดการติดเชื้อตามมาค่ะอาการแพ้ชนิดนี้เป็นอาการแพ้ที่พบได้บ่อยที่สุด โดยเมื่อรับประทานยาเข้าไปแล้ว ยาจะเข้าไปกระตุ้นให้เม็ดเลือดขาวหลั่งสารที่ทำให้เกิดอาการภูมิแพ้ และทำให้เกิดผื่นแพ้ยาขึ้นมาในที่สุดอาการของการแพ้ยาโดยปกติแล้วจะแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม เรียงตามความรุนแรงของอาการแพ้ยา โดยสามารถแบ่งอาการบ่งชี้ได้ ดังนี้อาการแพ้ที่มีความรุนแรงปานกลางที่พบได้บ่อยที่สุดคืออาการใจสั่น แน่นหน้าอก คลื่นไส้ อาเจียน ทั้งนี้ยังอาจจะมีอาการหายใจติดขัดคล้ายกับอาการหืดหอบอีกด้วย โดยมักจะมีต้นเหตุจากการใช้ยาประเภทฉีดไม่เพียงเท่านั้น อาการแพ้ยายังรวมถึงอาการแพ้น้ำเกลือและแพ้เลือดที่ควรระมัดระวังอีกด้วย โดยการแพ้น้ำเกลือและแพ้เลือดจะทำให้เกิดอาการไข้ หนาวสั่นและลมพิษ แต่จะไม่มีความอันตรายมากนักค่ะนอกจากนี้ก็ยังมีอาการแพ้ยาที่มาจากยาแต่ละชนิดยังจำแนกได้ ดังนี้อาการแพ้ยาปฏิชีวนะมีความรุนแรงแตกต่างกันตามชนิดของยา โดยยาที่มักจะพบอาการแพ้ได้บ่อยที่สุดคือยาเพนิซิลลิน โดยอาการแพ้ของยาชนิดนี้ หากเป็นยาชนิดรับประทานอาจจะทำให้เกิดผื่นแดงหรือผื่นลมพิษ แต่ถ้าหากเป็นยาปฏิชีวนะชนิดฉีดอาจจะมีอาการแพ้ยาที่รุนแรงกว่ายาคลายกล้ามเนื้อ เป็นยาที่มีการใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยคนส่วนใหญ่มักจะคิดว่าอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงหรือง่วงซึม เกิดขึ้นจากอาการแพ้ยา แต่จริง ๆ แล้วนั่นเป็นเพียงแค่ผลข้างเคียงจากยาเท่านั้น ทว่าอาการแพ้ยาดังกล่าวจะสามารถสังเกตได้จากผื่นลมพิษที่ขึ้นตามผิวหนัง โดยอาการแพ้จะไม่รุนแรง แต่ก็ไม่ควรชะล่าใจเพราะบางรายอาจมีอาการแพ้จนถึงกับช็อกได้เช่นกัน ดังนั้นหากเริ่มมีความผิดปกติควรเลิกใช้ยาดังกล่าวโดยทันที หรือจะให้ดีก็รีบไปพบแพทย์ยาพาราเซตามอลเป็นยาสามัญประจำบ้านที่มีสรรพคุณช่วยลดอาการปวด ซึ่งอาการแพ้ยาพาราเซตามอลนี้อาจจะขึ้นอยู่กับยี่ห้อของยาด้วย เพราะบางรายอาจแพ้ยาพาราเซตามอลยี่ห้อหนึ่ง แต่เมื่อเปลี่ยนยี่ห้อของยาก็ไม่มีอาการแพ้ โดยอาการแพ้อาจจะมีตั้งแต่ไม่รุนแรง คือ มีผื่นแดงขึ้นตามผิวหนัง หรือมีอาการแน่นหน้าอกเล็กน้อย ไปจนถึงเกิดอาการช็อกอย่างรุนแรงได้สำหรับผู้ป่วยที่มีอาการแพ้แค่เพียงเล็กน้อย หลังจากเลิกใช้ยาที่แพ้แล้วก็ควรรับประทานยาแก้แพ้ เช่น ยาคลอเฟนิรามีน (Chlopheniramine) โดยให้รับประทานวันละ 3-4 ครั้ง ครั้งละ 1/2-1 เม็ด จนกว่าจะหาย หรือฉีดยาไดเฟนไฮดรามีน (Diphenhydramine) เข้ากล้ามเนื้อในกลุ่มที่มีอาการแพ้ยาปฏิชีวนะอย่างรุนแรงกลุ่มนี้ หากมีอาการแพ้ควรรีบรับประทานยาแก้แพ้ หรือสเตียรอยด์แล้วนำส่งโรงพยาบาลในทันที เพราะอาจมีอาการติดเชื้อแทรกซ้อนทำให้เกิดภาวะโลหิตเป็นพิษจนถึงแก่ชีวิตได้ขอบคุณข้อมูลจากNational Center for Biotechnology Information, U.S. National Library of Medicine


โรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ โรคฮิตยุค 4.0 : พบหมอมหิดล


โรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ เป็นโรคภูมิแพ้ที่หลายๆคนอาจจะคุ้นเคยกันเป็นอย่างดี เพราะโรคนี้สามารถเป็นได้ทุกเพศทุกวัย และสภาพอากาศใน
เมืองหลวงที่เต็มไปด้วยมลพิษ ที่เป็นสารก่อภูมิแพ้
ชนิดต่างๆ ทำให้คนเกิดโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ได้ง่ายขึ้น วันนี้คุณหมอมงคล สมพรรัตนพันธ์ คุณหมอจาก โรงพยาบาลศิริราช จะมาบอกถึงวิธิการรักษา
และวิธีการรับมือกับโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ว่าทำอย่างไร ติดตามได้ในรายการ พบหมอมหิดล ตอน โรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ โรคฮิตยุค 4.0
ช่อง YouTube : Mahidol Channel : http://www.youtube.com/mahidolchannel
Facebook : http://www.facebook.com/mahidolchannel
Mahidol University มหาวิทยาลัยมหิดล : https://www.mahidol.ac.th/th
Website | https://channel.mahidol.ac.th/

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

โรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ โรคฮิตยุค 4.0 : พบหมอมหิดล

โรคแพ้อากาศ (Allergic to Weather) 1


http://www.phyathai.com อโรคา ปาร์ตี้ (Aroka Party) ตอนโรคแพ้อากาศ โดยนพ.ปรีดา สง่าเจริญกิจ แพทย์หัวหน้าคลินิกโรคภูมิแพ้ โรงพยาบาลพญาไท 1 สอบถามเพิ่มเติมโทร.1772 Phyathai Hospital, Bangkok, Thailand

โรคแพ้อากาศ (Allergic to Weather) 1

มาฟังคำตอบกันชัดๆ ฟังเข้าใจง่าย ปิยบุตร แสงกนกกุล Re-Solution


สมัครเป็นสมาชิกของช่องนี้เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดทำคลิป
https://www.youtube.com/channel/UCJ842uu2IftweuYAMDGwKqA/join
เงินส่วนนี้จะไม่เข้าพรรคก้าวไกลหรือคณะก้าวหน้า

ช่องก้าวหน้าก้าวต่อไป
จัดทำขึ้นเพื่อกระจายเผยแพร่แนวคิดและอุดมการณ์ประชาธิปไตย
ทางเราไม่มีอะไรเกี่ยวข้องกับ คุณธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ และพรรคอนาคตใหม่ ใดๆ ทั้งสิ้น ตอนนี้ได้เปลี่ยนเป็นพรรคก้าวไกล กับคณะก้าวหน้า เราจึงนำเสนอในหนทางของเรา
ก้าวหน้าก้าวต่อไป อนาคตใหม่การเมือง Thanathorn Juangroongruangkit ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ เอกพรรณิการ์ วานิช ช่อ ปิยบุตร แสงกนกกุล ป๊อก อนาคตใหม่ อนาคตใหม่ล่าสุด พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ รังสิมันต์ โรม ก้าวไกล สู่อนาคตใหม่ ก้าวหน้า เท่าเทียม

มาฟังคำตอบกันชัดๆ ฟังเข้าใจง่าย  ปิยบุตร แสงกนกกุล Re-Solution

ลมพิษ แพ้อากาศ ผื่นคันหายเป็นปลิดทิ้งด้วยภูมิปัญญาชาวบ้าน


ลมพิษ แพ้อากาศ ผื่นคันหายเป็นปลิดทิ้งด้วยภูมิปัญญาชาวบ้าน

โรคภูมิแพ้คืออะไร มีวิธีการป้องกันรักษาอย่างไร? ep.2


ชีวิตดีดี เคล็ดลับสุขภาพ ภูมิแพ้
โรคภูมิแพ้ โรคยอดฮิตที่ใครๆก็เป็นกัน มาเจาะลึกกันว่า โรคภูมิแพ้คืออะไร มีวิธีการป้องกันรักษาอย่างไร?
👉 ติดตามคลิปสาระสุขภาพ กับหมอกอล์ฟ นพ.สิทธา ลิขิตนุกูล (แพทย์สังคมสื่อสารเพื่อคุณธรรม)
👉 ในคลินิกชีวิตดีดี ได้แล้ววันนี้ที่ช่อง GEDGoodLife ชีวิตดีดี
อย่าลืมกด 👉 SUBSCRIBE 👈 เพื่อติดตามคลิปใหม่ๆกันด้วยนะคร๊าบบบบบ
ชีวิตดีดี เคล็ดลับสุขภาพ ภูมิแพ้ คลินิกหมอ GedGoodLife
กดติดตามเคล็ดลับมีชีวิตดีดี ได้ที่
✅ Website : https://bit.ly/2m9OyU6
✅ Facebook fanpage : https://bit.ly/2N65zdd
✅ Instragram : https://bit.ly/2uiucwc
✅ Youtube Channel : https://bit.ly/2Jj1mR1
[email protected] : http://line.me/ti/p/%40fcm1900

โรคภูมิแพ้คืออะไร มีวิธีการป้องกันรักษาอย่างไร? ep.2

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Wiki

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ แพ้ อากาศ อาการ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *