ลดคลอเลสเตอรอล: คุณกำลังดูกระทู้
รายละเอียด : คลอเลสเตอรอล [Total cholesterol] เป็นสารที่สำคัญของร่างกาย ประกอบด้วย ไขมันชนิดดี [HDL-c], ไขมันชนิดร้าย [LDL-c] และ ไขมัน VLDL เมื่อมีปริมาณพอเหมาะไม่มากเกินไป นั้นคือเป็นองค์ประกอบเยื่อหุ้มเซลล์ทั่วร่างกาย เป็นวัตถุดิบให้ร่างกายผลิตน้ำดี (Bile) เพื่อใช้ในการย่อยอาหารประเภทไขมัน และดูดซึมวิตามินที่ละลายในไขมัน เช่น วิตามินเอ, ดี, อี และ เค นอกจากนั้น ร่างกายยังนำ คลอเลสเตอรอลไปใช้ในการผลิตฮอร์โมนที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโต และฮอร์โมนเพศอีกด้วย
แต่หากร่างกายมีปริมาณคลอเลสเตอรอลมากเกินไป ก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย โดยที่ คลอเลสเตอรอลจะไปสะสมเกาะตามผนังหลอดเลือด และสามารถอุดตันหลอดเลือด เพิ่มความเสี่ยงการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคหลอดเลือดสมองตามมา
การตรวจ Total chloresterol สำคัญอย่างไร
การตรวจค่าคลอเลสเตอรอล มีประโยชน์ในการประเมินความเสี่ยงการพัฒนาของโรคต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โรคหัวใจ เพราะคลอเลสเตอรอลในเลือดสูงมีความเกี่ยวข้องกับภาวะโรคหลอดเลือด โรคหัวใจ และสามารถเพิ่มความเสี่ยงการเกิดภาวะหัวใจวายเฉียบพลันที่นำไปสู่การเสียชีวิตได้ ดังนั้นการตรวจติดตามอย่างสม่ำเสมอจึงเป็นประโยชน์ในการป้องกันโรคต่างๆดังกล่าว
ตรวจบ่อยแค่ไหน
สำหรับผู้ใหญ่ทุกท่าน แนะนำตรวจคัดกรองคลอเลสเตอรอล อย่างน้อยทุกๆ 5 ปี โดยทั่วไปแพทย์จะพิจารณาตรวจกับค่าไขมันอื่นๆ เช่น ไขมันชนิดดี [HDL-c], ไขมันชนิดร้าย [LDL-c] และ ไตรกลีเซอไรด์ [TG]
โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากผู้ที่อายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไปที่มีปัจจัยเสี่ยง (Major risk factors) ของการเกิดโรคหัวใจ ควรพิจารณาตรวจติดตามค่าคลอเลสเตอรอล ผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงดัง ตารางที่ 1
คำนวณคลอเลสเตอรอลออนไลน์
คลอเลสเตอรอล
mg/dL
เป้าหมายของการรักษา ดังนี้
คลอเลสเตอรอล [Total cholesterol] เป็นสารที่สำคัญของร่างกาย ประกอบด้วย ไขมันชนิดดี [HDL-c], ไขมันชนิดร้าย [LDL-c] และ ไขมัน VLDL เมื่อมีปริมาณพอเหมาะไม่มากเกินไป นั้นคือเป็นองค์ประกอบเยื่อหุ้มเซลล์ทั่วร่างกาย เป็นวัตถุดิบให้ร่างกายผลิตน้ำดี (Bile) เพื่อใช้ในการย่อยอาหารประเภทไขมัน และดูดซึมวิตามินที่ละลายในไขมัน เช่น วิตามินเอ, ดี, อี และ เค นอกจากนั้น ร่างกายยังนำ คลอเลสเตอรอลไปใช้ในการผลิตฮอร์โมนที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโต และฮอร์โมนเพศอีกด้วย แต่หากร่างกายมีปริมาณคลอเลสเตอรอลมากเกินไป ก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย โดยที่ คลอเลสเตอรอลจะไปสะสมเกาะตามผนังหลอดเลือด และสามารถอุดตันหลอดเลือด เพิ่มความเสี่ยงการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคหลอดเลือดสมองตามมาการตรวจค่าคลอเลสเตอรอล มีประโยชน์ในการประเมินความเสี่ยงการพัฒนาของโรคต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โรคหัวใจ เพราะคลอเลสเตอรอลในเลือดสูงมีความเกี่ยวข้องกับภาวะโรคหลอดเลือด โรคหัวใจ และสามารถเพิ่มความเสี่ยงการเกิดภาวะหัวใจวายเฉียบพลันที่นำไปสู่การเสียชีวิตได้ ดังนั้นการตรวจติดตามอย่างสม่ำเสมอจึงเป็นประโยชน์ในการป้องกันโรคต่างๆดังกล่าวสำหรับผู้ใหญ่ทุกท่าน แนะนำตรวจคัดกรองคลอเลสเตอรอล อย่างน้อยทุกๆ 5 ปี โดยทั่วไปแพทย์จะพิจารณาตรวจกับค่าไขมันอื่นๆ เช่น ไขมันชนิดดี [HDL-c], ไขมันชนิดร้าย [LDL-c] และ ไตรกลีเซอไรด์ [TG]โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากผู้ที่อายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไปที่มีปัจจัยเสี่ยง (Major risk factors) ของการเกิดโรคหัวใจ ควรพิจารณาตรวจติดตามค่าคลอเลสเตอรอล ผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงดัง ตารางที่ 1
หากแพทย์พิจารณารักษา ประเมินจากความสูงของค่าคลอเลสเตอรอล และส่วนใหญ่เป้าหมายหลักคือเพื่อลดค่าไขมันให้ได้ค่าที่เหมาะสม โดยเฉพาะค่าไขมันชนิดร้าย [LDL-c]
การจัดการ หากสาเหตุต้องรักษาภาวะคลอเลสเตอรอลสูง
1. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทุกท่าน ดังนี้
• ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทานอาหารไม่มากเกินจำเป็น ลดบริโภคประเภทไขมันอิ่มตัว เช่น เนื้อสัตว์ เนย มะพร้าว กะทิ เป็นต้น และอาหารที่มีคลอเลสเตอรอลสูง เช่น ปลาหมึก ไข่ กุ้ง หอย ร่วมทั้งอาหารมีน้ำตาลปริมาณมาก เป็นต้น
• และ เพิ่มการบริโภคอาหารพวกพืชผักผลไม้ ที่มีเส้นใย (fiber) ให้มาก
• และ ลดน้ำหนักด้วยวิธีที่เหมาะสม เพิ่มการทำกิจกรรมต่างๆ อย่างน้อย 30 นาทีต่อวัน 5 ครั้งต่อสัปดาห์ เช่น การออกกำลังกาย การเดินเร็ว ซึ่งควรเป็นกิจกรรมที่เหมาะสมในแต่ละบุคคล
• และ เลิกบุหรี่
• ลดความเครียด ความวิตกกังวล เนื่องจากทำให้ร่างกายผลิตคลอเลสเตอรอลขึ้นมาเกินความจำเป็น
2. ผู้ที่ต้องรับประทานยาลดไขมันตามแพทย์สั่ง ต้องไปพบแพทย์เพื่อรักษาให้เหมาะสม
3. ผู้ที่ต้องปรึกษาแพทย์เพื่อประเมินการรักษาที่เหมาะสม และเพื่อติดตามผลการรักษา
ข้อควรทราบ
1. หากมีข้อสงสัยให้สอบถามแพทย์หรือเภสัชกร
2. เด็กอายุต่ำกว่า 20 ปีที่มีน้ำหนักเกิน (Overweight) หรืออ้วน (Obesity) ควรพิจารณาตรวจติดตามค่าคลอเลสเตอรอลอย่างน้อยทุก 2 ปี โดยเกณฑ์ในเด็กหรือในวัยรุ่นอาจมีความแตกต่างจากในผู้ใหญ่ ดังนั้นพิจารณาปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
3. ท่านควรแจ้งแพทย์ก่อนหากท่านได้รับยา อาหารเสริม หรือสมุนไพรอยู่ ซึ่งอาจมีผลเพิ่มระดับ คลอเลสเตอรอลได้
4. ท่านควรแจ้งแพทย์ก่อน หากท่านมีภาวะติดเชื้อ, เจ็บป่วยเฉียบพลัน (acute illness), อยู่ในระหว่างการผ่าตัดหรืออุบัติเหตุ (stress like from surgery or an accident) ผลการตรวจอาจผิดพลาดจากความจริงได้ ท่านควรรออย่างน้อย 6 สัปดาห์หลังอาการต่างๆหายไป
5. ผู้หญิงตั้งครรภ์ อาจจะมีค่าคลอเลสเตอรอลสูงขึ้นได้ ดังนั้นอาจจะพิจารณารออย่างน้อย หลังคลอด 6 สัปดาห์เพื่อตรวจอีกครั้ง
[Update] | ลดคลอเลสเตอรอล – Sonduongpaper
รายละเอียด : คลอเลสเตอรอล [Total cholesterol] เป็นสารที่สำคัญของร่างกาย ประกอบด้วย ไขมันชนิดดี [HDL-c], ไขมันชนิดร้าย [LDL-c] และ ไขมัน VLDL เมื่อมีปริมาณพอเหมาะไม่มากเกินไป นั้นคือเป็นองค์ประกอบเยื่อหุ้มเซลล์ทั่วร่างกาย เป็นวัตถุดิบให้ร่างกายผลิตน้ำดี (Bile) เพื่อใช้ในการย่อยอาหารประเภทไขมัน และดูดซึมวิตามินที่ละลายในไขมัน เช่น วิตามินเอ, ดี, อี และ เค นอกจากนั้น ร่างกายยังนำ คลอเลสเตอรอลไปใช้ในการผลิตฮอร์โมนที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโต และฮอร์โมนเพศอีกด้วย
แต่หากร่างกายมีปริมาณคลอเลสเตอรอลมากเกินไป ก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย โดยที่ คลอเลสเตอรอลจะไปสะสมเกาะตามผนังหลอดเลือด และสามารถอุดตันหลอดเลือด เพิ่มความเสี่ยงการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคหลอดเลือดสมองตามมา
การตรวจ Total chloresterol สำคัญอย่างไร
การตรวจค่าคลอเลสเตอรอล มีประโยชน์ในการประเมินความเสี่ยงการพัฒนาของโรคต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โรคหัวใจ เพราะคลอเลสเตอรอลในเลือดสูงมีความเกี่ยวข้องกับภาวะโรคหลอดเลือด โรคหัวใจ และสามารถเพิ่มความเสี่ยงการเกิดภาวะหัวใจวายเฉียบพลันที่นำไปสู่การเสียชีวิตได้ ดังนั้นการตรวจติดตามอย่างสม่ำเสมอจึงเป็นประโยชน์ในการป้องกันโรคต่างๆดังกล่าว
ตรวจบ่อยแค่ไหน
สำหรับผู้ใหญ่ทุกท่าน แนะนำตรวจคัดกรองคลอเลสเตอรอล อย่างน้อยทุกๆ 5 ปี โดยทั่วไปแพทย์จะพิจารณาตรวจกับค่าไขมันอื่นๆ เช่น ไขมันชนิดดี [HDL-c], ไขมันชนิดร้าย [LDL-c] และ ไตรกลีเซอไรด์ [TG]
โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากผู้ที่อายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไปที่มีปัจจัยเสี่ยง (Major risk factors) ของการเกิดโรคหัวใจ ควรพิจารณาตรวจติดตามค่าคลอเลสเตอรอล ผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงดัง ตารางที่ 1
คำนวณคลอเลสเตอรอลออนไลน์
คลอเลสเตอรอล
mg/dL
เป้าหมายของการรักษา ดังนี้
คลอเลสเตอรอล [Total cholesterol] เป็นสารที่สำคัญของร่างกาย ประกอบด้วย ไขมันชนิดดี [HDL-c], ไขมันชนิดร้าย [LDL-c] และ ไขมัน VLDL เมื่อมีปริมาณพอเหมาะไม่มากเกินไป นั้นคือเป็นองค์ประกอบเยื่อหุ้มเซลล์ทั่วร่างกาย เป็นวัตถุดิบให้ร่างกายผลิตน้ำดี (Bile) เพื่อใช้ในการย่อยอาหารประเภทไขมัน และดูดซึมวิตามินที่ละลายในไขมัน เช่น วิตามินเอ, ดี, อี และ เค นอกจากนั้น ร่างกายยังนำ คลอเลสเตอรอลไปใช้ในการผลิตฮอร์โมนที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโต และฮอร์โมนเพศอีกด้วย แต่หากร่างกายมีปริมาณคลอเลสเตอรอลมากเกินไป ก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย โดยที่ คลอเลสเตอรอลจะไปสะสมเกาะตามผนังหลอดเลือด และสามารถอุดตันหลอดเลือด เพิ่มความเสี่ยงการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคหลอดเลือดสมองตามมาการตรวจค่าคลอเลสเตอรอล มีประโยชน์ในการประเมินความเสี่ยงการพัฒนาของโรคต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โรคหัวใจ เพราะคลอเลสเตอรอลในเลือดสูงมีความเกี่ยวข้องกับภาวะโรคหลอดเลือด โรคหัวใจ และสามารถเพิ่มความเสี่ยงการเกิดภาวะหัวใจวายเฉียบพลันที่นำไปสู่การเสียชีวิตได้ ดังนั้นการตรวจติดตามอย่างสม่ำเสมอจึงเป็นประโยชน์ในการป้องกันโรคต่างๆดังกล่าวสำหรับผู้ใหญ่ทุกท่าน แนะนำตรวจคัดกรองคลอเลสเตอรอล อย่างน้อยทุกๆ 5 ปี โดยทั่วไปแพทย์จะพิจารณาตรวจกับค่าไขมันอื่นๆ เช่น ไขมันชนิดดี [HDL-c], ไขมันชนิดร้าย [LDL-c] และ ไตรกลีเซอไรด์ [TG]โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากผู้ที่อายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไปที่มีปัจจัยเสี่ยง (Major risk factors) ของการเกิดโรคหัวใจ ควรพิจารณาตรวจติดตามค่าคลอเลสเตอรอล ผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงดัง ตารางที่ 1
หากแพทย์พิจารณารักษา ประเมินจากความสูงของค่าคลอเลสเตอรอล และส่วนใหญ่เป้าหมายหลักคือเพื่อลดค่าไขมันให้ได้ค่าที่เหมาะสม โดยเฉพาะค่าไขมันชนิดร้าย [LDL-c]
การจัดการ หากสาเหตุต้องรักษาภาวะคลอเลสเตอรอลสูง
1. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทุกท่าน ดังนี้
• ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทานอาหารไม่มากเกินจำเป็น ลดบริโภคประเภทไขมันอิ่มตัว เช่น เนื้อสัตว์ เนย มะพร้าว กะทิ เป็นต้น และอาหารที่มีคลอเลสเตอรอลสูง เช่น ปลาหมึก ไข่ กุ้ง หอย ร่วมทั้งอาหารมีน้ำตาลปริมาณมาก เป็นต้น
• และ เพิ่มการบริโภคอาหารพวกพืชผักผลไม้ ที่มีเส้นใย (fiber) ให้มาก
• และ ลดน้ำหนักด้วยวิธีที่เหมาะสม เพิ่มการทำกิจกรรมต่างๆ อย่างน้อย 30 นาทีต่อวัน 5 ครั้งต่อสัปดาห์ เช่น การออกกำลังกาย การเดินเร็ว ซึ่งควรเป็นกิจกรรมที่เหมาะสมในแต่ละบุคคล
• และ เลิกบุหรี่
• ลดความเครียด ความวิตกกังวล เนื่องจากทำให้ร่างกายผลิตคลอเลสเตอรอลขึ้นมาเกินความจำเป็น
2. ผู้ที่ต้องรับประทานยาลดไขมันตามแพทย์สั่ง ต้องไปพบแพทย์เพื่อรักษาให้เหมาะสม
3. ผู้ที่ต้องปรึกษาแพทย์เพื่อประเมินการรักษาที่เหมาะสม และเพื่อติดตามผลการรักษา
ข้อควรทราบ
1. หากมีข้อสงสัยให้สอบถามแพทย์หรือเภสัชกร
2. เด็กอายุต่ำกว่า 20 ปีที่มีน้ำหนักเกิน (Overweight) หรืออ้วน (Obesity) ควรพิจารณาตรวจติดตามค่าคลอเลสเตอรอลอย่างน้อยทุก 2 ปี โดยเกณฑ์ในเด็กหรือในวัยรุ่นอาจมีความแตกต่างจากในผู้ใหญ่ ดังนั้นพิจารณาปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
3. ท่านควรแจ้งแพทย์ก่อนหากท่านได้รับยา อาหารเสริม หรือสมุนไพรอยู่ ซึ่งอาจมีผลเพิ่มระดับ คลอเลสเตอรอลได้
4. ท่านควรแจ้งแพทย์ก่อน หากท่านมีภาวะติดเชื้อ, เจ็บป่วยเฉียบพลัน (acute illness), อยู่ในระหว่างการผ่าตัดหรืออุบัติเหตุ (stress like from surgery or an accident) ผลการตรวจอาจผิดพลาดจากความจริงได้ ท่านควรรออย่างน้อย 6 สัปดาห์หลังอาการต่างๆหายไป
5. ผู้หญิงตั้งครรภ์ อาจจะมีค่าคลอเลสเตอรอลสูงขึ้นได้ ดังนั้นอาจจะพิจารณารออย่างน้อย หลังคลอด 6 สัปดาห์เพื่อตรวจอีกครั้ง
ไขมันในเลือดสูง ลดได้ ไม่ยาก l 10นาทีกับหมอต่อ
รับปรึกษาปัญหาด้านความงาม ผิว และสุขภาพ โดย นพ.วชิรวิทย์ กิตติรัตน์พัฒนา
fanpage ถามตอบปัญหา https://bit.ly/30fr3Nh
Youtube : http://www.youtube.com/c/10นาทีกับหมอต่อ
.
สั่งซื้อสินค้า ครีมบำรุงผิว เซรั่มหน้าใส ครีมรักษาสิว กันแดดชนิดไม่อุดตัน
website : https://bit.ly/3ea0l0H
Facebook : https://bit.ly/38dV0Sm
LINE : https://bit.ly/3sSh1hA
Shopee : https://bit.ly/3ebT40p
IG : https://bit.ly/38drCf6
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่
อาหารลดไขมันในเส้นเลือด สำหรับผู้สูงอายุ : Smart 60 สูงวัยอย่างสง่า [by Mahidol] #stayhome #withme
รายการ Smart 60 สูงวัยอย่างสง่า ในตอนนี้จะชวนผู้สูงวัยและครอบครัวที่มีผู้สูงวัย หันมาดูแลด้านอาหารที่จะช่วยลดไขมันในเส้นเลือด ไขมันที่สะสมในเส้นเลือดเป็นสาเหตุของโรคต่าง ๆ เช่น ภาวะหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง โดยในวันนี้ อ.เอ๋ ผศ.พญ.ดรุณีวัลย์ วโรดมวิจิตร อาจารย์ประจำภาควิชาอายุศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ม.มหิดล จะแนะนำรูปแบบการรับประทานอาหารที่เรียกว่า “Mediterranean Diet” คือการกินอาหารสุขภาพแบบผู้คนที่อาศัยอยู่ในแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ที่เน้นการกินผัก ผลไม้ และธัญพืชเป็นหลัก รวมทั้งอาหารที่มีไขมันไม่อิ่มตัว เพื่อลดไขมันเลว และเพิ่มไขมันดี พร้อมกับเทคนิค 3 ล. เพื่อลดคอเลสเตอรอล และไตรกลีเซอไรด์ ผ่านการทำเมนูง่าย ๆ ที่มีไขมันต่ำกับเมนู “สลัดปลากะพงย่าง” ตัวอย่างอาหารที่ทั้งอร่อยและช่วยให้มีสุขภาพดี
Smart60 สูงวัยอย่างสง่า MahidolChannel
stayhome withme
ช่อง YouTube | Mahidol Channel: http://www.youtube.com/mahidolchannel
Facebook | http://www.facebook.com/mahidolchannel
Mahidol University มหาวิทยาลัยมหิดล | https://www.mahidol.ac.th/th
Website | https://channel.mahidol.ac.th/
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล | https://med.mahidol.ac.th/index.php
วิธีลดคอเลสเตอรอลในเลือด โดยไม่ต้องใช้ยา | เม้าท์กับหมอหมี EP.10
คลิปนี้หมอหมีจะมาแนะนำวิธีการลดคอเลสเตอรอลในเลือดง่ายๆ โดยไม่ต้องใช้ยา
คอเลสเตอรอลในเลือดสูง เป็นภาวะที่อันตราย ถ้าปล่อยไว้นานๆ จะทำให้เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดได้ เช่น โรคหัวใจขาดเลือด โรคเส้นเลือดในสมองตีบหรือแตก โรคไตวายเรื้อรัง ดังนั้นการที่มีไขมันหรือคอเลสเตอรอลในเลือดสูงจึงมีความสำคัญ หมอหมีจะมาแนะนำวิธีการลดคอเลสเตอรอลในเลือดโดยไม่ใช้ยา เป็นวิธีง่ายๆ ที่ทุกคนสามารถนำไปปฏิบติได้จริง รับรองว่าไขมันลด คอเลสเตอรอลลด สุขภาพแข็งแรงแน่นอนครับ
ถูกใจคลิปนี้ อย่าลืม กดLike กดแชร์ กดSubscribe กดกระดิ่ง ติดตามช่อง \”หมอหมีเม้าท์มอย\” กันด้วยนะครับ
ติดตามผลงาน \”หมอหมีเม้าท์มอย\” ได้ที่
Youtube : http://www.youtube.com/c/หมอหมีเม้าท์มอย
Facebook : https://www.facebook.com/MhomheeTalks/
IG : MhoMheeTalk
เม้าท์กับหมอหมี หมอหมีเม้าท์มอย คอเลสเตอรอล คอเลสเตอรอลสูง
วิธีลดคอเลสเตอรอล (LDL-Cholesteral) โดยไม่ต้องใช้ยา 💖 โดยหมอโรคหัวใจ
5 วิธีง่ายๆ ลดไขมันเลว (LDL) โดยไม่ต้องใช้ยา
1. เลี่ยงไขมันทรานส์ (trans fat) ได้แก่ ของทอด และเบเกอรี่
2. ลดกินไขมันอิ่มตัว (saturated fat) ได้แก่ น้ำมันหมู น้ำมันมะพร้าว น้ำมันปาล์ม
3. ลดอาหารที่มีคอเลสเตอรอลสูง ได้แก่ เครื่องใน เนื้อติดมัน อาหารทะเล ฟาสต์ฟู้ด
4. กินผักผลไม้ และถั่ว (increase dietary fiber)
5. ลดน้ำหนักและออกกำลังกายร่วมด้วย
★☆★ ดีอาร์เค ชาแนล ★☆★
ช่องแห่งรอยยิ้ม อิ่มด้วยสาระ
โดยนายแพทย์ กิจจา จำปาศรี (หมอเต้ ดีอาร์เค)
👇 ฝากช่วยกดติดตามช่องยูทูปของเราด้วยนะครับ ตามลิงค์นี้เลย👇
https://www.youtube.com/channel/UCF3iOWwldQehnS5v7t6a9Rw/SeattleWebSearch?sub_confirmation=1
★☆★ ติดตามช่อง DRK Channel ของเราได้ที่โซเชียลมีเดียอื่นๆได้ด้วยนะครับ ★☆★
เฟสบุ๊ค: https://www.facebook.com/doctorKchannel
อินสตาแกรม: https://www.instagram.com/doctorkitcha
ยูทูป: http://www.youtube.com/c/DRKChannel
ทวิตเตอร์: https://twitter.com/doctorkitcha
ลิงค์อิน: https://www.linkedin.com/in/doctorkitcha
หากมีคำแนะนำดีๆ ส่งให้เราได้ตามลิงค์นี้เลยครับ https://lin.ee/hMV85DN หรือ ไลน์ ไอดี: @drkchannel
★☆★ ดีอาร์เค ชาแนล ★☆★
ช่องแห่งรอยยิ้ม อิ่มด้วยสาระ
โดยนายแพทย์ กิจจา จำปาศรี (หมอเต้ ดีอาร์เค)
👇 ฝากช่วยกดติดตามช่องยูทูปของเราด้วยนะครับ ตามลิงค์นี้เลย👇
https://www.youtube.com/channel/UCF3iOWwldQehnS5v7t6a9Rw/SeattleWebSearch?sub_confirmation=1
★☆★ ติดตามช่อง DRK Channel ของเราได้ที่โซเชียลมีเดียอื่นๆได้ด้วยนะครับ ★☆★
เฟสบุ๊ค: https://www.facebook.com/doctorKchannel
อินสตาแกรม: https://www.instagram.com/doctorkitcha
ยูทูป: http://www.youtube.com/c/DRKChannel
ทวิตเตอร์: https://twitter.com/doctorkitcha
ลิงค์อิน: https://www.linkedin.com/in/doctorkitcha
หากมีคำแนะนำดีๆ ส่งให้เราได้ตามลิงค์นี้เลยครับ https://lin.ee/hMV85DN หรือ ไลน์ ไอดี: @drkchannel
คุยกับหมอสันต์ เรื่อง อันตรายของยาลดไขมัน
Follow website: https://goo.gl/74tNZ4
Follow Line ID: https://goo.gl/tVBKJH
Follow Fanpage: https://goo.gl/Gdg6uH
Follow Doctor Sant Blogspot: https://goo.gl/E8QBtg
Follow Instagram: https://goo.gl/gZhjAh
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Wiki
ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ ลดคลอเลสเตอรอล