แขน ขา ไม่มี แรง: คุณกำลังดูกระทู้
ถ้าจะพูดถึงอาการเหน็บชา หลายคนอาจจะเป็นบ่อยจนไม่เคยสนใจ คิดว่าเป็นแล้วเดี๋ยวก็หาย ไม่น่าจะมีอะไรร้ายแรง และเป็นอาการธรรมชาติของคน เกิดจากการนั่งหรือนอนผิดท่า หรือบางครั้งแค่เผลอทับแขนหรือทับขาตัวเองก็เป็นได้แล้ว แต่อาการ “เหน็บชา“ ที่เกิดบ่อยมากเกินไปอาจเป็นสัญญาณของอันตรายได้ หากคุณกำลังเป็นกังวลกับอาการที่เกิดขึ้นกับตัวเอง ลองอ่านบทความนี้แล้วจะช่วยให้เข้าใจมากขึ้น
มือเท้าชา อย่านิ่งนอนใจ รักษาอย่างไร
อาการชาของบางคนนั้นบ่งบอกได้ถึงความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับ “การกดทับของเส้นประสาทบริเวณต่างๆ“ ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ เช่น อาการหลับลึก เมาสุรา ป่วยหนัก พิการทางสมอง จนเส้นประสาทที่ถูกกดทับช้ำมากจนไม่สามารถฟื้นคืนสภาพปกติภายในเวลาอันสั้น หากเป็นเช่นนี้จำเป็นต้องได้รับการรักษาโดยทันที
อย่างไรก็ตาม ยังมีอาการชาประเภทต่างๆอีกมากมายที่อาจเกิดจากสาเหตุที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งหากเรารับรู้ถึงลักษณะของอาการชาประเภทต่างๆที่ผิดปกติไปจากเดิมได้ ก็จะช่วยให้เราสามารถวินิจฉัยโรคของตัวเองหรือรู้ว่าตัวเองเป็นอะไรได้ในเบื้องต้น โดยไม่จำเป็นต้องรอให้เกิดเหตุร้ายก่อน เพราะบางครั้งมันอาจจะสายเกินไปเสียแล้ว
บริเวณที่ต้องระวัง
1. รู้สึกชาปลายเท้าและปลายมือเข้าหาลำตัว
หากคุณเป็นเช่นนี้ สาเหตุของอาการมักเกิดจากปลายประสาทอักเสบหรือปลายประสาทเสื่อม ซึ่งเกิดจากขาดสารอาหารที่สำคัญบางชนิด ได้แก่ วิตามินบี 1 วิตามินบี 6 หรือ วิตามินบี 12
นอกจากนี้ ยังสามารถเกิดขึ้นเนื่องจากการเป็นโรคบางชนิดได้ด้วย เช่น โรคไต โรคมะเร็ง เป็นต้น
2. รู้สึกชามือ แต่ไม่รู้สึกชาเท้า
การชาเฉพาะที่มืออย่างเดียวโดยไม่ชาเท้า จะสามารถแบ่งบริเวณของมือที่ชาเป็นส่วนๆได้ดังนี้ ซึ่งอาการชาแต่ละส่วนก็แสดงความผิดปกติที่แตกต่างกันออกไป
2.1 ชาปลายนิ้วมือเกือบทุกนิ้ว แต่นิ้วก้อยไม่ชาหรือชาน้อยที่สุด
อาการชาประเภทนี้มักเป็นตอนกลางคืนหรือตอนตื่นนอน ส่วนในตอนกลางวันก็สามารถเป็นได้เช่นกัน แต่จะเป็นเฉพาะการทำท่าบางประการที่ไม่เหมาะสมหรือทำต่อเนื่องเป็นเวลานาน เช่น ชูมือสูง ขี่มอเตอร์ไซค์ คุยโทรศัพท์ หรือใช้มือทำงานบางอย่างอย่างหนัก
สาเหตุของอาการชานี้เกิดขึ้นจากเอ็นกดทับเส้นประสาทตรงข้อมือ ซึ่งนับว่ายังไม่อันตรายมากนัก วิธีแก้ไขยังสามารถทำได้ เพียงแค่ต้องลดงานที่ใช้มือข้างนั้นๆลง เลี่ยงท่าทางที่ทำแล้วทำให้มือชา เปลี่ยนอิริยาบถบ่อยๆ หรือถ้าเป็นมากอาจจะต้องฉีดยาที่ข้อมือเพื่อบรรเทาอาการ
2.2 ชาที่บริเวณนิ้วก้อย นิ้วนาง และขอบมือด้านเดียวกัน แต่ไม่เลยเกินข้อมือ
อาการชาประเภทนี้มักเกิดจากการที่เส้นประสาทถูกกดทับตรงข้อศอก วิธีการแก้ไขให้เลี่ยงท่าทางที่ทำให้ชาเช่นเดียวกับข้อข้างต้น
อย่างไรก็ตาม ถ้ารู้สึกชาเลยข้อมือขึ้นมาจนถึงข้อศอก มักจะมีสาเหตุมาจากเส้นประสาทถูกกดทับบริเวณกระดูกไหปลาร้า หากเป็นเช่นนี้ควรปรึกษาแพทย์ทันที
2.3 ชาหลังมือไม่เกินข้อมือ โดยเฉพาะบริเวณง่ามระหว่างนิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้
อาการชาประเภทนี้มักเกิดจากเส้นประสาทถูกกดทับที่ต้นแขน หากคุณรู้สึกเช่นนี้ควรเลี่ยงการนั่งเอาแขนพาดพนักเก้าอี้
ส่วนถ้าใครรู้สึกชาเลยขึ้นมาถึงแขน อาจเป็นเพราะเส้นประสาทบาดเจ็บบริเวณรักแร้
2.4 ชาเป็นแถบตั้งแต่แขนลงไปถึงนิ้วมือ
หากเป็นอาการชาประเภทนี้ มักเกิดขึ้นจากกระดูกต้นคอเสื่อม และมีผลต่อการกดทับเส้นประสาท หากรู้สึกเช่นนี้ควรรีบปรึกษาแพทย์จะดีกว่า
3. รู้สึกชาเท้า แต่ไม่รู้สึกชาที่มือ
ข้อ 2 กับ 3 จะตรงกันข้ามกัน และแน่นอนว่าเกิดขึ้นจากสาเหตุที่แตกต่างกัน และมีวิธีการแก้ไขที่แตกต่างกันดังต่อไปนี้
3.1 ชาหลังเท้าขึ้นมาถึงหน้าแข้ง
อาการชาประเภทนี้เกิดจากเส้นประสาทถูกกดทับบริเวณใต้เข่าด้านนอก อาจเป็นเพราะคุณนั่งไขว่ห้าง นั่งขัดสมาธิ หรือนั่งพับเพียบนานเกินไป ก็หลีกเลี่ยงท่านั่งเหล่านี้ และห้ามใช้อะไรรองใต้ข้อพับเข่าเวลานอน
3.2 ชาฝ่าเท้า
อาการชาประเภทนี้เกิดจากเส้นประสาทถูกกดทับที่ตาตุ่มด้านในหรือในอุ้งเท้า ถ้าต้องการจะหายโดยเร็วควรเลิกท่าทางที่จะทำให้ขาชา และลดการยืนหรือเดินนานๆ หากเป็นไปได้ให้นั่งพักบ้าง
3.3 ชาทั้งเท้า
โดยรู้สึกชาที่ข้างใดข้างหนึ่ง และมักชาขึ้นมาถึงใต้เข่า อาการประเภทนี้เกิดจากเส้นประสาทได้รับความบาดเจ็บบริเวณสะโพก
3.4 ชาด้านนอกของต้นขา
อาการชาประเภทนี้มีสาเหตุมาจากเส้นประสาทจะถูกกดทับที่ขาหนีบ ถ้าอยากหายควรหลีกเลี่ยงการงอพับบริเวณสะโพก
3.5 ชาเป็นแถบจากสะโพกลงไปถึงเท้า
อาการชาประเภทนี้เกิดจากหมอนรองกระดูกสันหลังเคลื่อนทับเส้นประสาท นับว่าเป็นอาการที่รุนแรงและหากรักษาผิดวิธีอาจจะทำให้พิการได้เลย ดังนั้น ควรปรึกษาแพทย์โดยด่วน
อาการชาตามบริเวณต่างๆของร่างกายไม่ใช่เรื่องที่จะมองข้ามกันไปได้ อีกทั้งรูปแบบการชาก็หลากหลาย บางคนอาจจะแยกไม่ออก หรือรักษาผิดวิธี จนทำให้อาการทรุดลงได้
ดังนั้น หากยังไม่แน่ใจในอาการที่เป็นอยู่ว่าเกิดขึ้นจากอะไรกันแน่ ก็อย่าฝืนตัวเอง แต่ลองไปปรึกษาคุณหมอ เพื่อผลการรักษาที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นจะดีกว่า
ที่มา: เว็บไซต์ สุขภาพน่ารู้
Please follow and like us:
[Update] มือเท้าชา อย่านิ่งนอนใจ – โรงพยาบาลราชวิถี | แขน ขา ไม่มี แรง – Sonduongpaper
ถ้าจะพูดถึงอาการเหน็บชา หลายคนอาจจะเป็นบ่อยจนไม่เคยสนใจ คิดว่าเป็นแล้วเดี๋ยวก็หาย ไม่น่าจะมีอะไรร้ายแรง และเป็นอาการธรรมชาติของคน เกิดจากการนั่งหรือนอนผิดท่า หรือบางครั้งแค่เผลอทับแขนหรือทับขาตัวเองก็เป็นได้แล้ว แต่อาการ “เหน็บชา“ ที่เกิดบ่อยมากเกินไปอาจเป็นสัญญาณของอันตรายได้ หากคุณกำลังเป็นกังวลกับอาการที่เกิดขึ้นกับตัวเอง ลองอ่านบทความนี้แล้วจะช่วยให้เข้าใจมากขึ้น
มือเท้าชา อย่านิ่งนอนใจ รักษาอย่างไร
อาการชาของบางคนนั้นบ่งบอกได้ถึงความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับ “การกดทับของเส้นประสาทบริเวณต่างๆ“ ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ เช่น อาการหลับลึก เมาสุรา ป่วยหนัก พิการทางสมอง จนเส้นประสาทที่ถูกกดทับช้ำมากจนไม่สามารถฟื้นคืนสภาพปกติภายในเวลาอันสั้น หากเป็นเช่นนี้จำเป็นต้องได้รับการรักษาโดยทันที
อย่างไรก็ตาม ยังมีอาการชาประเภทต่างๆอีกมากมายที่อาจเกิดจากสาเหตุที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งหากเรารับรู้ถึงลักษณะของอาการชาประเภทต่างๆที่ผิดปกติไปจากเดิมได้ ก็จะช่วยให้เราสามารถวินิจฉัยโรคของตัวเองหรือรู้ว่าตัวเองเป็นอะไรได้ในเบื้องต้น โดยไม่จำเป็นต้องรอให้เกิดเหตุร้ายก่อน เพราะบางครั้งมันอาจจะสายเกินไปเสียแล้ว
บริเวณที่ต้องระวัง
1. รู้สึกชาปลายเท้าและปลายมือเข้าหาลำตัว
หากคุณเป็นเช่นนี้ สาเหตุของอาการมักเกิดจากปลายประสาทอักเสบหรือปลายประสาทเสื่อม ซึ่งเกิดจากขาดสารอาหารที่สำคัญบางชนิด ได้แก่ วิตามินบี 1 วิตามินบี 6 หรือ วิตามินบี 12
นอกจากนี้ ยังสามารถเกิดขึ้นเนื่องจากการเป็นโรคบางชนิดได้ด้วย เช่น โรคไต โรคมะเร็ง เป็นต้น
2. รู้สึกชามือ แต่ไม่รู้สึกชาเท้า
การชาเฉพาะที่มืออย่างเดียวโดยไม่ชาเท้า จะสามารถแบ่งบริเวณของมือที่ชาเป็นส่วนๆได้ดังนี้ ซึ่งอาการชาแต่ละส่วนก็แสดงความผิดปกติที่แตกต่างกันออกไป
2.1 ชาปลายนิ้วมือเกือบทุกนิ้ว แต่นิ้วก้อยไม่ชาหรือชาน้อยที่สุด
อาการชาประเภทนี้มักเป็นตอนกลางคืนหรือตอนตื่นนอน ส่วนในตอนกลางวันก็สามารถเป็นได้เช่นกัน แต่จะเป็นเฉพาะการทำท่าบางประการที่ไม่เหมาะสมหรือทำต่อเนื่องเป็นเวลานาน เช่น ชูมือสูง ขี่มอเตอร์ไซค์ คุยโทรศัพท์ หรือใช้มือทำงานบางอย่างอย่างหนัก
สาเหตุของอาการชานี้เกิดขึ้นจากเอ็นกดทับเส้นประสาทตรงข้อมือ ซึ่งนับว่ายังไม่อันตรายมากนัก วิธีแก้ไขยังสามารถทำได้ เพียงแค่ต้องลดงานที่ใช้มือข้างนั้นๆลง เลี่ยงท่าทางที่ทำแล้วทำให้มือชา เปลี่ยนอิริยาบถบ่อยๆ หรือถ้าเป็นมากอาจจะต้องฉีดยาที่ข้อมือเพื่อบรรเทาอาการ
2.2 ชาที่บริเวณนิ้วก้อย นิ้วนาง และขอบมือด้านเดียวกัน แต่ไม่เลยเกินข้อมือ
อาการชาประเภทนี้มักเกิดจากการที่เส้นประสาทถูกกดทับตรงข้อศอก วิธีการแก้ไขให้เลี่ยงท่าทางที่ทำให้ชาเช่นเดียวกับข้อข้างต้น
อย่างไรก็ตาม ถ้ารู้สึกชาเลยข้อมือขึ้นมาจนถึงข้อศอก มักจะมีสาเหตุมาจากเส้นประสาทถูกกดทับบริเวณกระดูกไหปลาร้า หากเป็นเช่นนี้ควรปรึกษาแพทย์ทันที
2.3 ชาหลังมือไม่เกินข้อมือ โดยเฉพาะบริเวณง่ามระหว่างนิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้
อาการชาประเภทนี้มักเกิดจากเส้นประสาทถูกกดทับที่ต้นแขน หากคุณรู้สึกเช่นนี้ควรเลี่ยงการนั่งเอาแขนพาดพนักเก้าอี้
ส่วนถ้าใครรู้สึกชาเลยขึ้นมาถึงแขน อาจเป็นเพราะเส้นประสาทบาดเจ็บบริเวณรักแร้
2.4 ชาเป็นแถบตั้งแต่แขนลงไปถึงนิ้วมือ
หากเป็นอาการชาประเภทนี้ มักเกิดขึ้นจากกระดูกต้นคอเสื่อม และมีผลต่อการกดทับเส้นประสาท หากรู้สึกเช่นนี้ควรรีบปรึกษาแพทย์จะดีกว่า
3. รู้สึกชาเท้า แต่ไม่รู้สึกชาที่มือ
ข้อ 2 กับ 3 จะตรงกันข้ามกัน และแน่นอนว่าเกิดขึ้นจากสาเหตุที่แตกต่างกัน และมีวิธีการแก้ไขที่แตกต่างกันดังต่อไปนี้
3.1 ชาหลังเท้าขึ้นมาถึงหน้าแข้ง
อาการชาประเภทนี้เกิดจากเส้นประสาทถูกกดทับบริเวณใต้เข่าด้านนอก อาจเป็นเพราะคุณนั่งไขว่ห้าง นั่งขัดสมาธิ หรือนั่งพับเพียบนานเกินไป ก็หลีกเลี่ยงท่านั่งเหล่านี้ และห้ามใช้อะไรรองใต้ข้อพับเข่าเวลานอน
3.2 ชาฝ่าเท้า
อาการชาประเภทนี้เกิดจากเส้นประสาทถูกกดทับที่ตาตุ่มด้านในหรือในอุ้งเท้า ถ้าต้องการจะหายโดยเร็วควรเลิกท่าทางที่จะทำให้ขาชา และลดการยืนหรือเดินนานๆ หากเป็นไปได้ให้นั่งพักบ้าง
3.3 ชาทั้งเท้า
โดยรู้สึกชาที่ข้างใดข้างหนึ่ง และมักชาขึ้นมาถึงใต้เข่า อาการประเภทนี้เกิดจากเส้นประสาทได้รับความบาดเจ็บบริเวณสะโพก
3.4 ชาด้านนอกของต้นขา
อาการชาประเภทนี้มีสาเหตุมาจากเส้นประสาทจะถูกกดทับที่ขาหนีบ ถ้าอยากหายควรหลีกเลี่ยงการงอพับบริเวณสะโพก
3.5 ชาเป็นแถบจากสะโพกลงไปถึงเท้า
อาการชาประเภทนี้เกิดจากหมอนรองกระดูกสันหลังเคลื่อนทับเส้นประสาท นับว่าเป็นอาการที่รุนแรงและหากรักษาผิดวิธีอาจจะทำให้พิการได้เลย ดังนั้น ควรปรึกษาแพทย์โดยด่วน
อาการชาตามบริเวณต่างๆของร่างกายไม่ใช่เรื่องที่จะมองข้ามกันไปได้ อีกทั้งรูปแบบการชาก็หลากหลาย บางคนอาจจะแยกไม่ออก หรือรักษาผิดวิธี จนทำให้อาการทรุดลงได้
ดังนั้น หากยังไม่แน่ใจในอาการที่เป็นอยู่ว่าเกิดขึ้นจากอะไรกันแน่ ก็อย่าฝืนตัวเอง แต่ลองไปปรึกษาคุณหมอ เพื่อผลการรักษาที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นจะดีกว่า
ที่มา: เว็บไซต์ สุขภาพน่ารู้
Please follow and like us:
อัมพฤกษ์ อัมพาต เส้นตึง เส้นยึด แขนขาไม่มีแรง
อัมพฤกษ์ อัมพาต เส้นตึงเส้นยึด แขนขาไม่มีแรง วิธีแก้ปวดฟัน มะเร็ง รักษาโรคไต ใช้ดีปลี 5เม็ดบดผสมน้ำผึ้งดื่มจะทำให้ดีขึ้น ชื่อสามัญ Long pepper, Indian long pepper,Javanese long pepper สรรพคุณ เป็นยาบำรุงกำลังและช่วยบำรุงกำหนัด ใช้เป็นยาอายุวัฒนะ บำรุงธาตุไฟในร่างกาย ช่วยแก้ธาตุพิการ แก้ธาตุไม่ปกติ แก้ปฐวีธาตุพิการ แก้วิสติปัฏฐี แก้ปัถวีธาตุ 20 ประการ(ผลดอก)ใช้เป็นยาระบายลม ระบายความเจ็บปวด ช่วยให้เจริญอาหาร ช่วยแก้อัมพฤกษ์ แก้ลมวิงเวียน ช่วยแก้ตัวร้อน ช่วยลดอาการม้ามโต แก้หวัด แก้ไอหืดหอบ แก้ไอมีเวลาระคายคอ แก้อาการเจ็บคอ ช่วยแก้ฮาลมบ้าหมู ดอกแก้อาการคลื่นไส้อาเจียน เถาช่วยแก้อาการปวดฟัน ผลแก้อาการจุกเสียดแน่นเฟ้อ แก้ท้องร่วง ผลดอกราก ใช้เป็นยาถ่ายพยาธิ ผล ใช้เป็นยาขับระดู ใช้ขับรกหลังคลอดบุตรให้ออกง่าย ช่วยขับน้ำดี ช่วยแก้อาการตับพิการ ช่วยแก้เส้นพิษอัมพฤกษ์ อัมพาต ดับพิษปัตคาด ช่วยแก้พิษงู(เถา) แก้ปวดเมื่อยแก้เส้นตึง ช่วยรักษาเกาต์ข้ออักเสบรูมาตอยด์ เป็นต้นการใช้ยาสมุนไพรควรปรึกษาแพทย์แผนไทยและเภสัชกรแผนไทยให้แน่ใจก่อนใช้
เฟสบุ๊ค สุภาษิต อุทรัง
เพจเฟสบุ๊ค ซว่าง อก ซว่างใจ๋
อีเมล์ [email protected]
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
ขาเล็กใน 7 วัน ทำทุกเช้า ไม่กระโดด ไม่ใช้อุปกรณ์
❤️ หาอุปกรณ์ออกกำลังกายที่ดีที่สุดสำหรับผู้หญิงที่ไลน์ : @sexyfit
💪🏻เรียนออนไลน์กับโค๊ช http://bit.ly/Sexyfit_Add_Line
🎶Tiktok: @Sexyfitbygee OR http://bit.ly/GEE_TIKTOK
🦵มาปั้นขาให้กระชับ สวย ได้รูปกันจ้า เชื่อว่าหลายๆคนมีปัญหาไขมันชอบมาสะสมตรงขา และลดยาก ให้ทำตามวิดีโอนี้เลย
✅เล่นตามวิดีโอ 12 รอบต่อวัน ทำทุกวัน คุมอาหารด้วยเห็นผลภายใน 7 วันว่าขาดูเล็กลงเเน่นอนจ้า
__
📌เข้ามาร่วมกลุ่มสาวๆชาวม sexyfit ใน Facebook คลิ๊กนี่เลย
http://bit.ly/2BYL9wZ
📌ถ้าอยากได้สติ๊กเกอร์ของโค๊ชลิ้งค์นี้เลย
http://bit.ly/2Kbjf6d
📌ติดตามเทคนิคการออกกำลังกายดีๆแบบนี้ได้ที่ Facebook: http://bit.ly/2zMQhaf
Instagram: gee_rujinun
http://bit.ly/InstagramGEE
___
Rock Angel by Joakim Karud https://soundcloud.com/joakimkarud
Creative Commons — AttributionShareAlike 3.0 Unported— CC BYSA 3.0
http://creativecommons.org/licenses/b…
Music promoted by Audio Library https://youtu.be/K8eRXvLL7Wo
แขนขาอ่อนแรงจาก“โรคหลอดเลือดสมอง”กับการกายภาพบำบัด : พบหมอรามา ช่วง Rama Health Talk 29 มิ.ย.61(4/7)
Rama Health Talk
พบกับ…แขนขา อ่อนแรงจาก “โรคหลอดเลือดสมอง”กับ การกายภาพบำบัดสำคัญแค่ไหน?
อ. พญ.ทรงสุดา รุ่งใสวัฒนา
ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ติดตามรายการได้ทุกวันจันทร์ศุกร์ ออกอากาศสดผ่าน Facebook Fanpage เวลา 12.0013.00 น. โดยคุณผู้ชมสามารถรับชมรามาแชนแนลได้ที่ช่อง True Visions 42
หรือ ทางเว็บไซต์ http://www.ramachannel.tv และ http://www.youtube.com/ramachanneltv
ออกอากาศวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ.2561
ทำไมกล้ามเนื้ออ่อนแรง 3 สาเหตุที่ต้องรู้เพื่อสุขภาพ | Muscle weakness | พี่ปลา Healthy Fish
โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง แม้แต่ในนักกีฬาที่มีความเนื้อสมบูรณ์ก็อาจมีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงได้ กล้ามเนื้ออ่อนแรง (Muscle weakness) คือภาวะที่กำลังของกล้ามเนื้อลดลง อาจเป็นเพียงอ่อนแรงลงเล็กน้อย หรือรุนแรงถึงขั้นไม่สามารถขยับได้เลย สามารถพบได้ในทุกช่วงวัยตั้งแต่เด็กจนถึงผู้สูงอายุ
สาเหตุของกล้ามเนื้ออ่อนแรง เกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น
1 กล้ามเนื้ออ่อนแรงที่เกิดขึ้นจากความผิดปกติของระบบประสาท
เช่น การกดทับของเส้นประสาท Nerve root compression การกดทับไขสันหลัง Myelopathy การกดทับเส้นประสาทส่วนปลาย (Pheripheral nerve compression)
2 กล้ามเนื้ออ่อนแรงที่เกิดจากโรคอื่นๆ มีโรคหลายชนิดที่ทำให้กล้ามเนื้ออ่อนแรงได้ เช่น โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงเอแอลเอส โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงเอ็มจี โรคในกลุ่มนี้เกิดได้จากหลายสาเหตุ ทั้งระบบภูมิคุ้มกันทำลายตัวเอง การติดเชื้อ หรือบางชนิดยังไม่ทราบสาเหตุ อย่างไรก็ตาม โรคเหลานี้มักจะมีอาการเฉพาะที่เห็นได้ชัด ร่วมกับมีรูปแบบการอ่อนแรงแบบพิเศษ
กล้ามเนื้ออ่อนแรง อาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง พี่ปลาHealthyFish
สนใจติดต่องานได้ที่
อีเมล์ [email protected]
เบอร์โทรติดต่องาน 0809649234
ปวดกราม กรามลั่นกึกๆ ปวดกกหู ขากรรไกรค้าง (TMD)
ปวดกราม กรามลั่นกึกๆ ปวดกกหู ขากรรไกรค้าง (TMD) http://www.sdcdentist.com โรคเกี่ยวกับความผิดปกติของข้อต่อขากรรไกร ที่เรียกว่า tmd (temporomandibular disorder) เกิดจากเอ็นที่รองข้อต่อขากรรไกรหย่อน แล้วไปขวางการเคลื่อนที่ของข้อต่อขากรรไกร ข้อต่อขากรรไกรเลยเสียดสีกับกระดูกข้างใต้ เกิดเสียงดังกึกๆ สาเหตุของเอ็นหย่อนมีหลายอย่าง เช่น การใช้งานหนัก การใช้งานผิดประเภท เช่น จากการเคี้ยวอาหารข้างเดียวเป็นเวลานานๆ การคุยโทรศัพท์หนีบหูกับไหล่ การสีไวโอเลิน การหาวกว้าง การอ้าปากกว้าง ฯลฯ อะไรก็ตามที่มีการใช้ขากรรไกรมากเกิน และสาเหตุที่สำคัญ คือ ความเครียด ความวิตกกังวล ดังนั้นโรคนี้จึงมักพบในวัยรุ่น วัยทำงาน
รักษาด้วยการใส่เครื่องมือที่เรียกว่า เฝือกสบฟัน หรือ occlusal splint ซึ่งเป็นเครื่องมือคล้ายๆ กับฟันยางนักมวย แต่แข็งกว่า เครื่องมือนี้จะช่วยหย่อนขากรรไกร เมื่อขากรรไกรหย่อนก็ทำให้ขากรรไกรได้พัก นอกจากนี้ก็ต้องมีการปรับพฤติกรรมในการใช้ชิวิตใหม่ เพื่อลดอันตรายที่จะเกิดกับขากรรไกรด้วยนะครับ
ศาลาแดง ซ.1 ทันตกรรม (SDC1st Dentist)
Subscribe
http://www.youtube.com/sdcdentube
http://www.youtube.com/sdcdentist
Facebook
http://www.facebook.com/Dental.Bangkok
Twitter
http://twitter.com/DentalBangkok
Call: 022365299, 0809560797
Song: Different Heaven Nekozilla LFZ Remix NCS Release
Music provided by NoCopyrightSounds.
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆWiki
ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ แขน ขา ไม่มี แรง