ธรรมชาติ คือ: คุณกำลังดูกระทู้
ธรรมชาตินิยม มีลักษณะที่ใกล้เคียงกับสสารนิยมมาก จนบางครั้งอาจบอกได้ว่าธรรมชาตินิยมเป็นพวกเดียวกับสสารนิยม แต่ก็มีส่วนที่แตกต่างกันคือ
สสารนิยม ถือว่า สสารเป็นความแท้จริง ชีวิตคือพลังงานทางฟิสิกส์และทางเคมีที่ซับซ้อน จิตคือปรากฏการณ์ของสมอง ส่วนธรรมชาตินิยม เน้นเรื่องพลังงาน กล่าวคือพลังงานเป็นความแท้จริงสุดท้าย และนำเอาวิทยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ มาอธิบายเรื่องสสาร ชีวิตและจิต นั่นคือ
1. ใช้ฟิสิกส์และเคมี อธิบายเรื่องสสาร
2. ใช้ชีววิทยา อธิบายเรื่องชีวิต
3. ใช้จิตวิทยา อธิบายเรื่องจิต
แนวความคิดซึ่งยึดธรรมชาติเป็นหลัก ประกอบด้วยทัศนะต่าง ๆ เช่น
ทัศนะที่ถือว่า ธรรมชาติเท่านั้นคือสิ่งที่เป็นจริงนิรันดร มีพลังกระตุ้นในตัว (Self – activating) ดำรงอยู่ได้ด้วยตัวเอง (Self – existent) มีทุกอย่างในตัวเอง (Self – contained) อาศัยตัวเอง (Self – dependent) ปฏิบัติการได้ด้วยตนเอง (Self – operating) และมีเหตุผลในตัว (Self – explanatory)
ทัศนะที่ไม่ยอมรับอำนาจเหนือธรรมชาติ (Anti – supernaturalistic) โดยถือว่าปรากฏการณ์ทุก ๆ อย่างเป็นไปตามสภาวะความเกี่ยวพันที่มีต่อกันของเหตุการณ์ทางธรรมชาตินั้น ๆ เอง ไม่เกี่ยวข้องกับอำนาจเหนือธรรมชาติใด ๆ ทั้งสิ้น แต่เป็นกระบวนการธรรมชาติที่เกิดขึ้นเองตามกาละและเทศะ กล่าวคือธรรมชาตินี้มีโครงสร้างของตนเอง และโครงสร้างนั้นเกิดขึ้นได้เอง ไม่ได้เกิดขึ้นเพราะอำนาจเหนือธรรมชาติ
ทัศนะที่มีลักษณะนิยมวิทยาศาสตร์ (Prescientific) ได้แก่ทัศนะที่ถือว่า ปรากฏการณ์ธรรมชาติสามารถอธบายได้อย่างสมเหตุสมผลเพียงพอโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้จะเกิดขึ้นได้ก็โดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์เท่านั้น แต่มีความรู้ประเภทหนึ่งที่เรียกกันว่า อัชฌัตติกญาณ (Intuition) คือการรู้เองก็ดี ประสบการณ์เชิงรหัสยะ (Mystical experience) คือประสบการณ์เรื่องลึกลับก็ดี คติความเชื่อ (Faith) ก็ดี วิวรณ์ (Revelation) คือการที่พระเป็นเจ้าเปิดเผยความรู้ให้มนุษย์รับทราบก็ดี ไม่ถือว่าเป็นความรู้ที่ถูกต้อง
แต่อย่างไรก็ดี แม้วิทยาศาสตร์จะเป็นวิธีการเดียวที่ทำให้มนุษย์รู้และข้าใจโลก แต่มนุษย์ก็มีประสบการณ์เกี่ยวกับโลกได้หลายทาง นอกเหนือจากการรู้และการเข้าใจ ธรรมชาตินิยมไม่ถือว่าการรู้และการเข้าโลกเป็นสิ่งสำคัญในการที่มนุษย์มีประสบการณ์เกี่ยวกับโลก
ทัศนะที่ถือว่า มนุษย์เป็นสิ่งสิ่งหนึ่งในธรรมชาติ มิได้มีฐานะพิเศษเหนือกว่าสิ่งอื่น ๆ พฤติกรรมมนุษย์ก็คล้าย ๆ กับพฤติกรรมของสัตว์อื่น ๆ จะต่างกันก็ตรงที่มีความซับซ้อนมากกว่าเท่านั้นเอง อิทธิพลจากสังคมและสิ่งแวดล้อมทำให้พฤติกรรมของมนุษย์ผันแปรไปต่าง ๆ กัน คุณค่าเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นเอง มิได้อาศัยสิ่งเหนือธรรมชาติเป็นหลัก
ธรรมชาตินิยม เป็นทฤษฎีที่อธิบายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติบนพื้นฐานแห่งกฏธรรมชาติ ตามทัศนะของธรรมชาตินิยม ธรรมชาติคือความจริงสูงสุด ธรรมชาติย่อมอธิบายได้โดยวิถีทางแห่งการเคลื่อนไหวและพลัง ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในธรรมชาติย่อมเกิดขึ้นเพราะมีการเคลื่อนไหวและกระแสคลื่นแห่งไฟฟ้า
ธรรมชาตินิยมยอมรับหลักการของการเคลื่อนไหวด้วยว่าเป็นความจริงสูงสุด เรียกว่า พลังนิยม (Energism) เพราะทฤษฎีนี้ยอมรับพลังว่าเป็นความจริงด้วย เพราะเชื่อว่าสิ่งธรรมชาติทั้งปวงคือรูปแบบที่แตกต่างกันของพลังเท่านั้น ทฤษฎีนี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ปฏิฐานนิยม (Positivism) คือทฤษฎีที่เชื่อว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติย่อมอยู่ภายใต้ขอบเขตของวิทยาศาสตร์ปฏิฐาน และปรากฏการณ์ทางธรรมชาตินี้ย่อมอธิบายได้ด้วยวิถีทางแห่งกฏทางวิทยาศาสตร์
สมัยเริ่มแรก กลุ่มธรรมชาตินิยมเชื่อว่า ปรากฏการณ์ธรรมชาติที่แตกต่างกันย่อมอธิบายได้บนพื้นฐานของฟิสิกส์และเคมี นักธรรมชาติสมัยใหม่ทำการแยกแยะทำให้เห็นความแตกต่างกันระหว่างกฏทั้งหลายที่ควบคุมชีวิตกับกฏที่กำหนดพืชและสิ่งทั้งหลายที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้
ปรัชญาธรรมชาตินิยมนี้ บางทีเรียกว่า “ปรัชญาสัจนิยม” (Realism) ซึ่งถือว่าความจริงคือสสารและพลังของสสาร ชีวิตคือพลังงานระดับสูงของสสาร จิตก็คือพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต ธรรมชาตินิยมถือว่าธรรมชาติเป็นศูนย์กลางของสรรพสิ่ง โลกและชีวิตเกิดจากการรวมตัวของปรมาณู เป็นการรวมตัวและจัดระเบียบโดยธรรมชาติ ไม่มีผู้สร้าง
ธรรมชาตินิยม ได้นิยามสิ่งธรรมชาติเอาไว้ว่า “สิ่งธรรมชาติ คือสิ่งที่มีขึ้นและดับลงตามสาเหตุทางธรรมชาติ สรรพสิ่งดำรงอยู่ในระบบอวกาศ เวลา และในระบบทุกอย่างที่เป็นไปตามสาเหตุ กล่าวคือ มีเหตุและผลในการเกิดขึ้นของสรรพสิ่งในธรรมชาติ”
แสดงให้เห็นว่า สิ่งที่เราเรียกว่าเป็นสิ่งธรรมชาตินั้น จะต้องประกอบด้วยลักษณะ 2 อย่างคือ
จะต้องเป็นสิ่งที่ดำรงอยู่ในระบบอวกาศ และเวลา
จะต้องเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นและดับลง โดยมีสาเหตุ และสาเหตุนั้นก็คือสิ่งธรรมชาติด้วยกันนั่นเอง
ธรรมชาติประกอบด้วยพลังงาน ซึ่งมีหลายรูป เช่น ความร้อน แสงสว่าง และไฟฟ้า เป็นต้น พลังงานสามารถเปลี่ยนรูปกลับไปกลับมาได้ แต่เปลี่ยนได้เฉพาะคุณภาพเท่านั้น ปริมาณไม่เปลี่ยนแปลง แม้สสารก็เป็นพลังงาน เพราะสสารประกอบด้วยปรมาณู และปรมาณูประกอบด้วย อีเลคตรอน โปรตรอน และนิวตรอน ซึ่งเป็นพลังงานไฟฟ้า
ธรรมชาตินิยม มีความเชื่อว่า พลังงานเป็นความแท้จริงสุดท้าย ชีวิตมีการวิวัฒนาการมาจากสสารที่ไม่มีชีวิต เป็นไปตามกฎธรรมชาติ การปรับโครงสร้างและอวัยวะต่าง ๆ ของสัตว์เป็นไปเอง ไม่มีวัตถุประสงค์ใด ๆ แฝงอยู่
ในเรื่องของจิต ธรรมชาตินิยมเชื่อว่า จิตมีวิวัฒนาการมาจากชีวิตหรืออินทรีย์ขั้นสูง จิตเป็นปรากฏการณ์ของสมอง ถูกควบคุมด้วยกฎกลศาสตร์ ไม่มีอำนาจริเริ่มและมีเสรีภาพในตัวเอง
นักปรัชญาฝ่ายธรรมชาตินิยมส่วนมากจะเป็นพวกอเทวนิยม ไม่ได้เชื่อเรื่องพระเจ้า ที่บอกว่ามีพระเจ้า ก็เนื่องมาจากมนุษย์เป็นผู้สร้างพระเจ้าขึ้น ทุกสิ่งทุกอย่างเกิดขึ้นตามธรรมชาติ ปฏิเสธความเป็นอมตะของวิญญาณ และสิ่งเหนือธรรมชาติทั้งหลาย ดังนั้น จึงแสดงให้เห็นว่า ปรัชญาธรรมชาตินิยมยึดถือความคิดของวิทยาศาสตร์
ดังนั้น ปรัชญาธรรมชาตินิยม จึงเป็นปรัชญาที่อยู่กึ่งกลางระหว่างปรัชญาจิตนิยมและสสารนิยม กล่าวคือปรัชญาธรรมชาตินิยม มองว่าจิตนิยมและสสารนิยมมองโลกในแง่เดียว ธรรมชาตินิยมจึงพยายามประนีประนอมทั้งสองทัศนะเข้าด้วยกัน เพราะธรรมชาตินิยมมองว่ามนุษย์จะต้องมีทั้งร่างกายและจิตวิญญาณ ซึ่งมีความสำคัญเท่า ๆ กัน
อริสโตเติ้ล (Aristotle) นักปรัชญากรีกสมัยโบราณได้กล่าวแนวคิดเกี่ยวกับธรรมชาติไว้ว่า ธรรมชาติมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา การเปลี่ยนแปลงในที่นี้เป็นการเปลี่ยนแปลง 3 อย่างคือ ชีวิต สสารและรูปแบบ เขาได้แบ่งสิ่งต่าง ๆ ออกเป็น 2 ชนิดคือ
อนินทรียสาร (Imorganic Matter) ได้แก่สิ่งที่ไม่มีชีวิต เช่น ดิน หิน ทราย ฯลฯ มีการเปลี่ยนแปลงจากภายนอกสู่ภายใน เช่น ก้อนหิน แตกเป็นก้อนน้อยก้อนใหญ่ บ้านเรือนผุพังไปตามกาลเวลา หรือเพราะดินฟ้าอากาศ เป็นต้น
อินทรียสาร (Organic Matter) ได้แก่สิ่งที่มีชีวิต มีการเปลี่ยนแปลงจากภายในสู่ภายนอก เช่น จากเด็กเป็นผู้ใหญ่ เป็นต้น
พุทธศาสนา (Buddhism) ถ้าจัดตามทัศนะของตะวันตก มี 2 สำนักที่จัดเป็นปรัชญาสัจนิยม (Realism) ได้แก่ สำนักไวภาษิกะ และสำนักเสาตราติกะ โดยที่ถือว่า วัตถุหรือสสาร เป็นจริงทั้งสองอย่าง วัตถุเป็นความจริงอย่างหนึ่ง เป็นสิ่งที่มีอยู่ควบคู่กับจิต หรือความจริงทางนามธรรม แต่ทั้งสองอย่างเป็นอิสระต่อกัน กล่าวคือ วัตถุหรือสสารมีลักษณะเป็นของตัวเอง ตั้งอยู่ได้ด้วยตัวเอง เราจะเข้าไปรับรู้หรือไม่ มันก็มีอยู่อย่างนั้น ไม่ได้เกิดจากความรู้สึกนึกคิด หรือการจินตนาการของจิตแต่อย่างใด
นักธรรมชาตินิยม 2 กลุ่ม
นักธรรมชาตินิยมร่วมสมัย อาจแบ่งเป็น 2 กลุ่มได้แก่
1. กลุ่มขวา คือกลุ่มคนใจอ่อน (tender – minded)
2. กลุ่มซ้าย คือกลุ่มคนใจแข็ง (tough – minded)
นักธรรมชาตินิยมกลุ่มใจแข็งนั้น มีเจตนารมณ์ใกล้เคียงกันมากกับนักปรัชญาสสารนิยมรุ่นเก่าคือ พวกที่มีทัศนะไม่แตกต่างกันในเรื่องค่านิยมทางศาสนา หรือไม่เห็นด้วยกับผู้ที่พยายามดึงศาสนาเข้าไปรวมไว้ในโลกทัศน์ของธรรมชาตินิยม
ส่วนนักปรัชญาธรรมชาตินิยมกลุ่มใจอ่อน กลับเห็นใจศาสนาคือ โดยปกติกลุ่มนี้ปฏิเสธรูปแบบของศาสนาตามทางราชการ หรือตามประเพณี แต่เขาเชื่อว่า ค่านิยมทางศาสนา มีความสำคัญและสามารถรวมไว้ในปรัชญาธรรมชาตินิยมได้
ลักษณะและธรรมชาติของชีวิต
เกี่ยวกับคำถามที่ว่า อะไรคือชีวิต ชีวิตมีความเป็นมาอย่างไร มีนักปรัชญาจำนวนมากพยายามให้คำตอบ ขอนำมาเสนอในที่นี้บางทฤษฎีดังนี้
ทฤษฎีจักรกลนิยม (Mechanicism) ถือว่า ชีวิตหรืออินทรีย์เป็นเสมือนเครื่องจักรกลที่สลับซับซ้อน ชีวิตคือพลังงานทางฟิสิกส์และเคมีที่ซับซ้อน ชีวิตเกิดมาจากสสารที่ไม่มีชีวิต คืออนินทรียสารต่าง ๆ เช่น คาร์บอน ออกซิเจน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน แคลเซียมเป็นต้น สังเคราะห์กันเข้าเป็นอินทรียสารขึ้นมาเอง กลายเป็นสิ่งมีชีวิต นักปรัชญาที่สำคัญในทฤษฎีนี้ได้แก่ โธมัส ฮ็อบส์ (Thomas Hobbes)
ทฤษฎีชีวิตนิยม (Vitalism) ถือว่าอินทรีย์มีพลังวิเศษที่ไม่ปรากฏในสิ่งที่ไม่มีชีวิต พลังวิเศษนี้ทำให้อินทรีย์เจริญเติบโตได้ ปรับตัวได้ และสืบพันธุ์ได้ บางครั้งเรียกว่า พลังงานชีวิตในอดีต หรือตัวการชีวิต (Vital principle) กล่าวคือเป็นพลังที่ผลักดันให้มีชีวิต แทรกซึมอยู่ในสสารจึงทำให้สสารกลายเป็นสิ่งที่มีชีวิตและพัฒนาสูงขึ้นไปเรื่อย ๆ นักปรัชญาที่สำคัญในทฤษฎีนี้ได้แก่ แบร์กซอง (Henri Bergson : 1859 – 1941)
ทฤษฎีชีวิตนิยมใหม่ (Neo – Vitalism) ถือว่าชีวิตไม่อาจจะอธิบายด้วยพื้นฐานทางกลศาสตร์ได้ ชีวิตเกิดมีขึ้นเพราะตัวการที่ไม่ใช่สสาร แต่มีลักษณะเป็นอสสาร นั่นคือจิต นักปรัชญาที่สำคัญในทฤษฎีนี้ได้แก่ ฮันส์ ดรีช (Hans Driesch) นักชีววิทยาชาวเยอรมัน
ทฤษฎีวิวัฒนาการเชิงสร้างสรรค์ ถือว่าพลังชีวิต เป็นความแท้จริงที่สิ้นสุด ซึ่งมีการวิวัฒนาการไปเป็นสิ่งใหม่เสมอ วิวัฒนาการของพลังชีวิตเป็นไปในเชิงสร้างสรร ไม่มีกาลเป็นเวลาเป็นเครื่องกำหนด ไม่ว่าจะเป็นอดีตหรืออนาคต ไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงทางด้านวัตถุ แต่เป็นการเปลี่ยนแปลงไปข้างหน้าและถอยหลัง การที่พลังชีวิต วิวัฒนาการไปเป็นจิต เป็นการเปลี่ยนแปลงไปข้างหน้า และการที่พลังชีวิต วิวัฒนาการไปเป็นสสาร เป็นการเปลี่ยนแปลงถอยหลัง ดังนั้น ชีวิตไม่ใช่ผลของสสาร หรือเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจากสสาร แต่เป็นพลังชีวิต
ทัศนะเกี่ยวกับมนุษย์ของธรรมชาตินิยม
ธรรมชาตินิยม เป็นทฤษฎีที่อยู่กึ่งกลางระหว่างสสารนิยมและจิตนิยม จึงเป็นลักษณะการประนีประนอมทฤษฎีทั้งสองเข้าด้วยกัน โดยที่มีความเห็นขัดแย้งกับทั้งสองทฤษฎีว่า มนุษย์เรานั้น ไม่ใช่มีแต่เพียงร่างกายซึ่งเป็นสสารตามที่ชาวสสารนิยมเข้าใจอย่างเดียว และก็ไม่ใช่ว่ามีแต่จิตวิญญาณที่เป็นอสสารตามที่ชาวจิตนิยมเข้าใจอย่างเดียวเท่านั้น แต่มนุษย์จะต้องประกอบด้วยร่างกายและจิตวิญญาณ ทั้งสองอย่างเป็นสิ่งที่มีความสำคัญเท่ากัน และเป็นจริงเหมือนกัน
การยอมรับเรื่องจิตวิญญาณ เป็นคล้ายกับว่า ธรรมชาตินิยมเป็นพวกที่มีความคิดเห็นคล้ายกับจิตนิยม แต่การยอมรับว่ามนุษย์มีจิตวิญญาณนั้น มีลักษณะที่แตกต่างกันจากพวกจิตนิยมโดยสิ้นเชิง กล่าวคือ
พวกจิตนิยม เชื่อว่าจิตวิญญาณ เป็นสิ่งที่แยกออกเป็นอิสระจากกาย และเป็นอมตะ ส่วนพวกธรรมชาตินิยม กล่าวว่า จิตวิญญาณไม่สามารถแยกออกเป็นอิสระจากร่างกายได้ และจิตวิญญาณก็ไม่ได้เป็นอมตะด้วย จิตวิญญาณของมนุษย์เรา เป็นความสามารถอย่างหนึ่งที่ได้สืบมอดกันมา เป็นสิ่งที่ติดตัวมาตั้งแต่เกิด จิตวิญญาณเป็นสิ่งที่ทำให้มนุษย์มีความแตกต่างจากสัตว์ และเมื่อมนุษย์เสียชีวิต ทั้งร่างกายและจิตวิญญาณก็ดับสิ้นไปด้วยกัน
Share this:
Like this:
Like
Loading…
[Update] ทัศนะฝ่ายธรรมชาตินิยม (Naturalism) | ธรรมชาติ คือ – Sonduongpaper
ธรรมชาตินิยม มีลักษณะที่ใกล้เคียงกับสสารนิยมมาก จนบางครั้งอาจบอกได้ว่าธรรมชาตินิยมเป็นพวกเดียวกับสสารนิยม แต่ก็มีส่วนที่แตกต่างกันคือ
สสารนิยม ถือว่า สสารเป็นความแท้จริง ชีวิตคือพลังงานทางฟิสิกส์และทางเคมีที่ซับซ้อน จิตคือปรากฏการณ์ของสมอง ส่วนธรรมชาตินิยม เน้นเรื่องพลังงาน กล่าวคือพลังงานเป็นความแท้จริงสุดท้าย และนำเอาวิทยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ มาอธิบายเรื่องสสาร ชีวิตและจิต นั่นคือ
1. ใช้ฟิสิกส์และเคมี อธิบายเรื่องสสาร
2. ใช้ชีววิทยา อธิบายเรื่องชีวิต
3. ใช้จิตวิทยา อธิบายเรื่องจิต
แนวความคิดซึ่งยึดธรรมชาติเป็นหลัก ประกอบด้วยทัศนะต่าง ๆ เช่น
ทัศนะที่ถือว่า ธรรมชาติเท่านั้นคือสิ่งที่เป็นจริงนิรันดร มีพลังกระตุ้นในตัว (Self – activating) ดำรงอยู่ได้ด้วยตัวเอง (Self – existent) มีทุกอย่างในตัวเอง (Self – contained) อาศัยตัวเอง (Self – dependent) ปฏิบัติการได้ด้วยตนเอง (Self – operating) และมีเหตุผลในตัว (Self – explanatory)
ทัศนะที่ไม่ยอมรับอำนาจเหนือธรรมชาติ (Anti – supernaturalistic) โดยถือว่าปรากฏการณ์ทุก ๆ อย่างเป็นไปตามสภาวะความเกี่ยวพันที่มีต่อกันของเหตุการณ์ทางธรรมชาตินั้น ๆ เอง ไม่เกี่ยวข้องกับอำนาจเหนือธรรมชาติใด ๆ ทั้งสิ้น แต่เป็นกระบวนการธรรมชาติที่เกิดขึ้นเองตามกาละและเทศะ กล่าวคือธรรมชาตินี้มีโครงสร้างของตนเอง และโครงสร้างนั้นเกิดขึ้นได้เอง ไม่ได้เกิดขึ้นเพราะอำนาจเหนือธรรมชาติ
ทัศนะที่มีลักษณะนิยมวิทยาศาสตร์ (Prescientific) ได้แก่ทัศนะที่ถือว่า ปรากฏการณ์ธรรมชาติสามารถอธบายได้อย่างสมเหตุสมผลเพียงพอโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้จะเกิดขึ้นได้ก็โดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์เท่านั้น แต่มีความรู้ประเภทหนึ่งที่เรียกกันว่า อัชฌัตติกญาณ (Intuition) คือการรู้เองก็ดี ประสบการณ์เชิงรหัสยะ (Mystical experience) คือประสบการณ์เรื่องลึกลับก็ดี คติความเชื่อ (Faith) ก็ดี วิวรณ์ (Revelation) คือการที่พระเป็นเจ้าเปิดเผยความรู้ให้มนุษย์รับทราบก็ดี ไม่ถือว่าเป็นความรู้ที่ถูกต้อง
แต่อย่างไรก็ดี แม้วิทยาศาสตร์จะเป็นวิธีการเดียวที่ทำให้มนุษย์รู้และข้าใจโลก แต่มนุษย์ก็มีประสบการณ์เกี่ยวกับโลกได้หลายทาง นอกเหนือจากการรู้และการเข้าใจ ธรรมชาตินิยมไม่ถือว่าการรู้และการเข้าโลกเป็นสิ่งสำคัญในการที่มนุษย์มีประสบการณ์เกี่ยวกับโลก
ทัศนะที่ถือว่า มนุษย์เป็นสิ่งสิ่งหนึ่งในธรรมชาติ มิได้มีฐานะพิเศษเหนือกว่าสิ่งอื่น ๆ พฤติกรรมมนุษย์ก็คล้าย ๆ กับพฤติกรรมของสัตว์อื่น ๆ จะต่างกันก็ตรงที่มีความซับซ้อนมากกว่าเท่านั้นเอง อิทธิพลจากสังคมและสิ่งแวดล้อมทำให้พฤติกรรมของมนุษย์ผันแปรไปต่าง ๆ กัน คุณค่าเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นเอง มิได้อาศัยสิ่งเหนือธรรมชาติเป็นหลัก
ธรรมชาตินิยม เป็นทฤษฎีที่อธิบายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติบนพื้นฐานแห่งกฏธรรมชาติ ตามทัศนะของธรรมชาตินิยม ธรรมชาติคือความจริงสูงสุด ธรรมชาติย่อมอธิบายได้โดยวิถีทางแห่งการเคลื่อนไหวและพลัง ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในธรรมชาติย่อมเกิดขึ้นเพราะมีการเคลื่อนไหวและกระแสคลื่นแห่งไฟฟ้า
ธรรมชาตินิยมยอมรับหลักการของการเคลื่อนไหวด้วยว่าเป็นความจริงสูงสุด เรียกว่า พลังนิยม (Energism) เพราะทฤษฎีนี้ยอมรับพลังว่าเป็นความจริงด้วย เพราะเชื่อว่าสิ่งธรรมชาติทั้งปวงคือรูปแบบที่แตกต่างกันของพลังเท่านั้น ทฤษฎีนี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ปฏิฐานนิยม (Positivism) คือทฤษฎีที่เชื่อว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติย่อมอยู่ภายใต้ขอบเขตของวิทยาศาสตร์ปฏิฐาน และปรากฏการณ์ทางธรรมชาตินี้ย่อมอธิบายได้ด้วยวิถีทางแห่งกฏทางวิทยาศาสตร์
สมัยเริ่มแรก กลุ่มธรรมชาตินิยมเชื่อว่า ปรากฏการณ์ธรรมชาติที่แตกต่างกันย่อมอธิบายได้บนพื้นฐานของฟิสิกส์และเคมี นักธรรมชาติสมัยใหม่ทำการแยกแยะทำให้เห็นความแตกต่างกันระหว่างกฏทั้งหลายที่ควบคุมชีวิตกับกฏที่กำหนดพืชและสิ่งทั้งหลายที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้
ปรัชญาธรรมชาตินิยมนี้ บางทีเรียกว่า “ปรัชญาสัจนิยม” (Realism) ซึ่งถือว่าความจริงคือสสารและพลังของสสาร ชีวิตคือพลังงานระดับสูงของสสาร จิตก็คือพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต ธรรมชาตินิยมถือว่าธรรมชาติเป็นศูนย์กลางของสรรพสิ่ง โลกและชีวิตเกิดจากการรวมตัวของปรมาณู เป็นการรวมตัวและจัดระเบียบโดยธรรมชาติ ไม่มีผู้สร้าง
ธรรมชาตินิยม ได้นิยามสิ่งธรรมชาติเอาไว้ว่า “สิ่งธรรมชาติ คือสิ่งที่มีขึ้นและดับลงตามสาเหตุทางธรรมชาติ สรรพสิ่งดำรงอยู่ในระบบอวกาศ เวลา และในระบบทุกอย่างที่เป็นไปตามสาเหตุ กล่าวคือ มีเหตุและผลในการเกิดขึ้นของสรรพสิ่งในธรรมชาติ”
แสดงให้เห็นว่า สิ่งที่เราเรียกว่าเป็นสิ่งธรรมชาตินั้น จะต้องประกอบด้วยลักษณะ 2 อย่างคือ
จะต้องเป็นสิ่งที่ดำรงอยู่ในระบบอวกาศ และเวลา
จะต้องเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นและดับลง โดยมีสาเหตุ และสาเหตุนั้นก็คือสิ่งธรรมชาติด้วยกันนั่นเอง
ธรรมชาติประกอบด้วยพลังงาน ซึ่งมีหลายรูป เช่น ความร้อน แสงสว่าง และไฟฟ้า เป็นต้น พลังงานสามารถเปลี่ยนรูปกลับไปกลับมาได้ แต่เปลี่ยนได้เฉพาะคุณภาพเท่านั้น ปริมาณไม่เปลี่ยนแปลง แม้สสารก็เป็นพลังงาน เพราะสสารประกอบด้วยปรมาณู และปรมาณูประกอบด้วย อีเลคตรอน โปรตรอน และนิวตรอน ซึ่งเป็นพลังงานไฟฟ้า
ธรรมชาตินิยม มีความเชื่อว่า พลังงานเป็นความแท้จริงสุดท้าย ชีวิตมีการวิวัฒนาการมาจากสสารที่ไม่มีชีวิต เป็นไปตามกฎธรรมชาติ การปรับโครงสร้างและอวัยวะต่าง ๆ ของสัตว์เป็นไปเอง ไม่มีวัตถุประสงค์ใด ๆ แฝงอยู่
ในเรื่องของจิต ธรรมชาตินิยมเชื่อว่า จิตมีวิวัฒนาการมาจากชีวิตหรืออินทรีย์ขั้นสูง จิตเป็นปรากฏการณ์ของสมอง ถูกควบคุมด้วยกฎกลศาสตร์ ไม่มีอำนาจริเริ่มและมีเสรีภาพในตัวเอง
นักปรัชญาฝ่ายธรรมชาตินิยมส่วนมากจะเป็นพวกอเทวนิยม ไม่ได้เชื่อเรื่องพระเจ้า ที่บอกว่ามีพระเจ้า ก็เนื่องมาจากมนุษย์เป็นผู้สร้างพระเจ้าขึ้น ทุกสิ่งทุกอย่างเกิดขึ้นตามธรรมชาติ ปฏิเสธความเป็นอมตะของวิญญาณ และสิ่งเหนือธรรมชาติทั้งหลาย ดังนั้น จึงแสดงให้เห็นว่า ปรัชญาธรรมชาตินิยมยึดถือความคิดของวิทยาศาสตร์
ดังนั้น ปรัชญาธรรมชาตินิยม จึงเป็นปรัชญาที่อยู่กึ่งกลางระหว่างปรัชญาจิตนิยมและสสารนิยม กล่าวคือปรัชญาธรรมชาตินิยม มองว่าจิตนิยมและสสารนิยมมองโลกในแง่เดียว ธรรมชาตินิยมจึงพยายามประนีประนอมทั้งสองทัศนะเข้าด้วยกัน เพราะธรรมชาตินิยมมองว่ามนุษย์จะต้องมีทั้งร่างกายและจิตวิญญาณ ซึ่งมีความสำคัญเท่า ๆ กัน
อริสโตเติ้ล (Aristotle) นักปรัชญากรีกสมัยโบราณได้กล่าวแนวคิดเกี่ยวกับธรรมชาติไว้ว่า ธรรมชาติมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา การเปลี่ยนแปลงในที่นี้เป็นการเปลี่ยนแปลง 3 อย่างคือ ชีวิต สสารและรูปแบบ เขาได้แบ่งสิ่งต่าง ๆ ออกเป็น 2 ชนิดคือ
อนินทรียสาร (Imorganic Matter) ได้แก่สิ่งที่ไม่มีชีวิต เช่น ดิน หิน ทราย ฯลฯ มีการเปลี่ยนแปลงจากภายนอกสู่ภายใน เช่น ก้อนหิน แตกเป็นก้อนน้อยก้อนใหญ่ บ้านเรือนผุพังไปตามกาลเวลา หรือเพราะดินฟ้าอากาศ เป็นต้น
อินทรียสาร (Organic Matter) ได้แก่สิ่งที่มีชีวิต มีการเปลี่ยนแปลงจากภายในสู่ภายนอก เช่น จากเด็กเป็นผู้ใหญ่ เป็นต้น
พุทธศาสนา (Buddhism) ถ้าจัดตามทัศนะของตะวันตก มี 2 สำนักที่จัดเป็นปรัชญาสัจนิยม (Realism) ได้แก่ สำนักไวภาษิกะ และสำนักเสาตราติกะ โดยที่ถือว่า วัตถุหรือสสาร เป็นจริงทั้งสองอย่าง วัตถุเป็นความจริงอย่างหนึ่ง เป็นสิ่งที่มีอยู่ควบคู่กับจิต หรือความจริงทางนามธรรม แต่ทั้งสองอย่างเป็นอิสระต่อกัน กล่าวคือ วัตถุหรือสสารมีลักษณะเป็นของตัวเอง ตั้งอยู่ได้ด้วยตัวเอง เราจะเข้าไปรับรู้หรือไม่ มันก็มีอยู่อย่างนั้น ไม่ได้เกิดจากความรู้สึกนึกคิด หรือการจินตนาการของจิตแต่อย่างใด
นักธรรมชาตินิยม 2 กลุ่ม
นักธรรมชาตินิยมร่วมสมัย อาจแบ่งเป็น 2 กลุ่มได้แก่
1. กลุ่มขวา คือกลุ่มคนใจอ่อน (tender – minded)
2. กลุ่มซ้าย คือกลุ่มคนใจแข็ง (tough – minded)
นักธรรมชาตินิยมกลุ่มใจแข็งนั้น มีเจตนารมณ์ใกล้เคียงกันมากกับนักปรัชญาสสารนิยมรุ่นเก่าคือ พวกที่มีทัศนะไม่แตกต่างกันในเรื่องค่านิยมทางศาสนา หรือไม่เห็นด้วยกับผู้ที่พยายามดึงศาสนาเข้าไปรวมไว้ในโลกทัศน์ของธรรมชาตินิยม
ส่วนนักปรัชญาธรรมชาตินิยมกลุ่มใจอ่อน กลับเห็นใจศาสนาคือ โดยปกติกลุ่มนี้ปฏิเสธรูปแบบของศาสนาตามทางราชการ หรือตามประเพณี แต่เขาเชื่อว่า ค่านิยมทางศาสนา มีความสำคัญและสามารถรวมไว้ในปรัชญาธรรมชาตินิยมได้
ลักษณะและธรรมชาติของชีวิต
เกี่ยวกับคำถามที่ว่า อะไรคือชีวิต ชีวิตมีความเป็นมาอย่างไร มีนักปรัชญาจำนวนมากพยายามให้คำตอบ ขอนำมาเสนอในที่นี้บางทฤษฎีดังนี้
ทฤษฎีจักรกลนิยม (Mechanicism) ถือว่า ชีวิตหรืออินทรีย์เป็นเสมือนเครื่องจักรกลที่สลับซับซ้อน ชีวิตคือพลังงานทางฟิสิกส์และเคมีที่ซับซ้อน ชีวิตเกิดมาจากสสารที่ไม่มีชีวิต คืออนินทรียสารต่าง ๆ เช่น คาร์บอน ออกซิเจน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน แคลเซียมเป็นต้น สังเคราะห์กันเข้าเป็นอินทรียสารขึ้นมาเอง กลายเป็นสิ่งมีชีวิต นักปรัชญาที่สำคัญในทฤษฎีนี้ได้แก่ โธมัส ฮ็อบส์ (Thomas Hobbes)
ทฤษฎีชีวิตนิยม (Vitalism) ถือว่าอินทรีย์มีพลังวิเศษที่ไม่ปรากฏในสิ่งที่ไม่มีชีวิต พลังวิเศษนี้ทำให้อินทรีย์เจริญเติบโตได้ ปรับตัวได้ และสืบพันธุ์ได้ บางครั้งเรียกว่า พลังงานชีวิตในอดีต หรือตัวการชีวิต (Vital principle) กล่าวคือเป็นพลังที่ผลักดันให้มีชีวิต แทรกซึมอยู่ในสสารจึงทำให้สสารกลายเป็นสิ่งที่มีชีวิตและพัฒนาสูงขึ้นไปเรื่อย ๆ นักปรัชญาที่สำคัญในทฤษฎีนี้ได้แก่ แบร์กซอง (Henri Bergson : 1859 – 1941)
ทฤษฎีชีวิตนิยมใหม่ (Neo – Vitalism) ถือว่าชีวิตไม่อาจจะอธิบายด้วยพื้นฐานทางกลศาสตร์ได้ ชีวิตเกิดมีขึ้นเพราะตัวการที่ไม่ใช่สสาร แต่มีลักษณะเป็นอสสาร นั่นคือจิต นักปรัชญาที่สำคัญในทฤษฎีนี้ได้แก่ ฮันส์ ดรีช (Hans Driesch) นักชีววิทยาชาวเยอรมัน
ทฤษฎีวิวัฒนาการเชิงสร้างสรรค์ ถือว่าพลังชีวิต เป็นความแท้จริงที่สิ้นสุด ซึ่งมีการวิวัฒนาการไปเป็นสิ่งใหม่เสมอ วิวัฒนาการของพลังชีวิตเป็นไปในเชิงสร้างสรร ไม่มีกาลเป็นเวลาเป็นเครื่องกำหนด ไม่ว่าจะเป็นอดีตหรืออนาคต ไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงทางด้านวัตถุ แต่เป็นการเปลี่ยนแปลงไปข้างหน้าและถอยหลัง การที่พลังชีวิต วิวัฒนาการไปเป็นจิต เป็นการเปลี่ยนแปลงไปข้างหน้า และการที่พลังชีวิต วิวัฒนาการไปเป็นสสาร เป็นการเปลี่ยนแปลงถอยหลัง ดังนั้น ชีวิตไม่ใช่ผลของสสาร หรือเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจากสสาร แต่เป็นพลังชีวิต
ทัศนะเกี่ยวกับมนุษย์ของธรรมชาตินิยม
ธรรมชาตินิยม เป็นทฤษฎีที่อยู่กึ่งกลางระหว่างสสารนิยมและจิตนิยม จึงเป็นลักษณะการประนีประนอมทฤษฎีทั้งสองเข้าด้วยกัน โดยที่มีความเห็นขัดแย้งกับทั้งสองทฤษฎีว่า มนุษย์เรานั้น ไม่ใช่มีแต่เพียงร่างกายซึ่งเป็นสสารตามที่ชาวสสารนิยมเข้าใจอย่างเดียว และก็ไม่ใช่ว่ามีแต่จิตวิญญาณที่เป็นอสสารตามที่ชาวจิตนิยมเข้าใจอย่างเดียวเท่านั้น แต่มนุษย์จะต้องประกอบด้วยร่างกายและจิตวิญญาณ ทั้งสองอย่างเป็นสิ่งที่มีความสำคัญเท่ากัน และเป็นจริงเหมือนกัน
การยอมรับเรื่องจิตวิญญาณ เป็นคล้ายกับว่า ธรรมชาตินิยมเป็นพวกที่มีความคิดเห็นคล้ายกับจิตนิยม แต่การยอมรับว่ามนุษย์มีจิตวิญญาณนั้น มีลักษณะที่แตกต่างกันจากพวกจิตนิยมโดยสิ้นเชิง กล่าวคือ
พวกจิตนิยม เชื่อว่าจิตวิญญาณ เป็นสิ่งที่แยกออกเป็นอิสระจากกาย และเป็นอมตะ ส่วนพวกธรรมชาตินิยม กล่าวว่า จิตวิญญาณไม่สามารถแยกออกเป็นอิสระจากร่างกายได้ และจิตวิญญาณก็ไม่ได้เป็นอมตะด้วย จิตวิญญาณของมนุษย์เรา เป็นความสามารถอย่างหนึ่งที่ได้สืบมอดกันมา เป็นสิ่งที่ติดตัวมาตั้งแต่เกิด จิตวิญญาณเป็นสิ่งที่ทำให้มนุษย์มีความแตกต่างจากสัตว์ และเมื่อมนุษย์เสียชีวิต ทั้งร่างกายและจิตวิญญาณก็ดับสิ้นไปด้วยกัน
Share this:
Like this:
Like
Loading…
ธรรมชาติสร้างสรรพสิ่งจริงหรือ?
ธรรมชาติคืออะไร?… ก็คือสิ่งที่เกิดมีและเป็นอยู่ในสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบๆ ตัวเรา… หลายคน มีความคิดที่ว่าธรรมชาตินั้นเกิดขึ้นเอง หรือคิดว่าธรรมชาตินั้นสร้างสรรพสิ่งขึ้นมาเอง แต่สำหรับคริสเตียนแล้วเราไม่เชื่อเช่นนั้น แต่เราเชื่อว่าสรรพสิ่งนั้นถูกสร้างและออกแบบโดยพระเจ้าผู้ ยิ่งใหญ่ซึ่งการที่เราไม่ยอมรับว่าธรรมชาตินั้นสร้างสรรพสิ่งขึ้นมาเองก็เพราะเหตุผลดังต่อไปนี้…\r
\r
http://www.fromhearttoheart.com \r
http://www.facebook.com/fromhearttoheart\r
[email protected]
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
คาราบาว – ชีวิตสัมพันธ์ [Official Audio]
\”ชีวิตสัมพันธ์\” บทเพลงจากวงคาราบาวเจ้าพ่อเพลงเพื่อชีวิตชั้นนำของประเทศไทย
เนื้อเพลง
เจ้านกเอย เจ้าเคยอยู่บนกอไผ่
ถู่ขันบทเพลงจากใจ ชมไพรชมพฤกษ์พนา
ส่งสำเนียง เสียงธรรมชาติสร้างมา
ผสมเสียงเพลง พฤกษา ที่มาของเสียงดนตรี
กู่เรื่องราวบอกกล่าวถึงความรู้สึก
เป็นเพียงสามัญสำนึกและการห่วงหาอาทร
ตอนนี้เราสิ้นเงาไม้ไม่เหมือนก่อน
ชุ่มชื่นกลับกลายเป็นร้อนเป็นแล้งระแหงระเหิด
ความแห้งแล้งความชุ่มชื้นอย่างไหนที่เราชอบใจ
ความร่ำรวยความยากจนอย่างไหนที่คนชอบกัน
มันอยู่ที่ความสมบูรณ์ของหมู่แมกไม้ต้นสายต้นน้ำลำธาร
มาจากป่าสู่เมืองจากเขาทะมึนหล่อเลี้ยงผู้คนในแท่งคอนกรีต
ยามนี้เราจึงมาร้องเพลงร่วมร้องบรรเลงเสียงเพลงจากไพร
เมืองนั้นมีความศิวิไลซ์เมื่อมีป่าไม้ต้นน้ำลำธาร
มีนกกาหากินบินว่อนแม่ลูกอ่อนมีนมให้ลูกกิน
คนหากินสัตว์หากินเราไม่เบียดเบียนกันและกัน
ต้นไม้งามคนงดงามงามน้ำใจไหลเป็นสายธาร
ชุบชีวิตทุกฝ่ายเบิกบานมีคนมีต้นไม้มีสัตว์ป่า
ความสมดุลย์คือคุณตามธรรมชาติ
ดินน้ำลมฟ้าอากาศเติมวาดชุบชีวิตชน
หมู่ไม้พรรณอยู่กันมาหลายชั่วคน
ให้ใบให้ดอกให้ผลให้คนได้ผลประโยชน์
(ซ้ำ , , , , )
ชุบชีวิตทุกฝ่ายเบิกบานมีคนมีต้นไม้มีสัตว์ป่า
คนหากินสัตว์หากินเราไม่เบียดเบียนกันและกัน
ต้นไม้งามคนงดงามงามน้ำใจไหลเป็นสายธาร
ชุบชีวิตทุกฝ่ายเบิกบานมีคนมีต้นไม้มีสัตว์ป่า
【 ช่องทางติดตามข่าวสาร วงคาราบาว 】
Line ► @CarabaoOfficial หรือคลิก http://line.me/ti/p/%40carabaoofficial
Facebook ► http://www.facebook.com/carabaoofficial/
Apple Music \u0026 iTunes :
Carabao Essentials Playlist ► https://music.apple.com/th/playlist/carabaoessentials/pl.f9b46f601f53442385224df14d9ca9ef
Carabao Artist Profile ► https://music.apple.com/th/artist/carabao/250982691
อะไรคือการรวมเป็นหนึ่งกับธรรมชาติ..
ท่านสามารถติดตามเรื่องเล่าธรรมะ และกดกระดิ่งไว้เพื่อไม่พลาดการรับชมคลิปธรรมะดีๆจากช่อง Bua Channel ได้ที่นี่\r
https://www.youtube.com/channel/UC1KG5bXJAQ7LqSrwjqMbXg\r
\r
An Introduction to Buddhist Practice: When a person is introduced to Buddhism for the first time, the first thing he should do is to forget all about his background of Christianity – and his Christian views and other similar views – and start from scratch.\r
The story of the Buddha begins like this. The Buddha found that he had a problem and he left home to try to find the answer to this problem. He went searching for teachers, he went to this teacher and then that teacher but he found he still had the problem. Finally he had to go off on his own to search for the solution, because he could not find anyone who knew about it. And he found the answer within himself, and he found the way to get to the state where he got the answer to his question and got free from his problem \r
\r
ติดตามฟังธรรมผ่านเพจ สำนักป่าพุทธภูมิ โพธิยาลัย\r
https://www.facebook.com/AnagarikaBhodhiyana/\r
\r
บัวชาแนล เล่าเรื่องเล่าธรรม
หลักธรรมคือธรรมชาติ
เรื่องเล่าพระ ว่าด้วยเรื่องหลักธรรม นั้นคือ ธรรมชาติ สุข ทุกข์ เกิดแก่ เจ็บ ตาย ก็คือ ธรรมชาติ
พงษ์สิทธิ์ คำภีร์ – คืนสู่รัง【Official Audio】
เพลง : คืนสู่รัง
ศิลปิน : พงษ์สิทธิ์ คำภีร์
อัลบั้ม : วันใหม่
เนื้อเพลง
ฝนโปรยโรยอ่อน ตะวันรอน ๆ
วิหคจรคืนสู่รัง
ฉากแห่งภูผามาบดบัง ฟังหริ่งบรรเลง
เสียงเพลงกล่อมไพร
เสียงเพลงกล่อมไพร เสียงเพลงกล่อมไพร ในยามเย็น
แสงดาวสว่าง ส่องดูทางเห็น
ปืนนั้นเป็นเพื่อนหลับนอน
สุดแดนขอบฟ้าพเนจร ไกลจากนคร
เสียงเพลงสวรรค์
เสียงเพลงสวรรค์ เสียงเพลงสวรรค์ ราตรี
เดินทางกลางป่า ป่าดงไพรี
เรานั้นมีใจมุ่งหมาย
กี่ป่ากี่เขา แล้วเราเหยียบกราย
กี่ด่านภัยร้าย แล้วเราเหยียบมา
แล้วเราเหยียบมา แล้วเราเหยีบมัน จมดิน
อุปสรรคทายท้าคือยาพลัง
วันแห่งความหลัง ใช่วันตัดสิน
จึงเร่งวันคืน ดังติดปีกบิน สู่เมืองมารดา
ฝนโปรยโรยอ่อน ตะวันรอน ๆ
วิหคจรคืนสู่รัง
ฉากแห่งภูผามาบดบัง ฟังหริ่งบรรเลง
เสียงเพลงกล่อมไพร
เสียงเพลงกล่อมไพร เสียงเพลงกล่อมไพร ในยามเย็น
http://www.facebook.com/pupongsitofficial
http://www.facebook.com/warnermusicthailand
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆWiki
ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ ธรรมชาติ คือ