[Update] คอเลสเตอรอล ( Cholesterol ) คือ อะไร ? | จากอะไร – Sonduongpaper

จากอะไร: คุณกำลังดูกระทู้

Nội Dung Bài Viết

คอเลสเตอรอล มีหน้าที่และความสําคัญอย่างไร ?

คอเลสเตอรอลมีความสำคัญต่อร่างกาย เพราะ คอเลสเตอรอลเป็นสารลักษณะเหมือนขี้ผึ้ง ( Waxy Substance ) แต่ละวันมนุษย์จะต้องใช้คอเลสเตอรอลในการดำรงชีวิต โดยคอเลสเตอรอลมีบทบาทและหน้าที่ดังต่อไปนี้

1. คอเลสเตอรอลเป็นองค์ประกอบของเยื่อผนังห่อเซลล์ทุกเซลล์ทั่งร่างกาย ( ซึ่งมีประมาณ 100 ล้านล้านเซลล์) เพื่อสร้างคุณสมบัติความเลื่อนไหลไปมา ( Fluidity ) ทำให้เกิดความสะดวกต่อการผ่านเข้า – ออกเซลล์ ของสารอาหาร วิตามินและแร่ธาตุต่างๆ เป็นต้น

2. คอเลสเตอรอลเป็นวัตถุดิบให้ร่างกายผลิตน้ำดี ( Bile ) เนื่องจากน้ำดีเป็นสิ่งที่ร่างกายจะต้องใช้ในการย่อยอาหารประเภทไขมัน รวมถึงช่วยในการดูดซึมวิตามินที่ละลายอยู่ในไขมัน เช่น วิตามินเอ  วิตามินดี  วิตามินอี และวิตามินเค เพื่อให้ร่างกายได้นำวิตามินเหล่านี้ไปใช้ประโยชน์ต่อไป

3. คอเลสเตอรอลเป็นสารเริ่มต้น ( Precursor ) หรือเป็นวัตถุดิบให้ร่างกายใช้สังเคราะห์วิตามินดี ขึ้นมาใช้เมื่อร่างกายได้รับแสงได้ โดยอาจจะเกิดจากความตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ได้ บริเวณใต้ผิวหนังของมนุษย์เราที่มี คอเลสเตอรอล จะมีกระบวนการที่จะทำให้แสงยูวีเหล่านี้กลับกลายมาเป็น วิตามินดี ซึ่งจะมีปะโยชน์ต่อร่างกายคือ

4. นำไปใช้ผลิตผลิตฮอร์โมนเพศในร่างกาย  คอเลสเตอรอลซึ่งเป็นสารสเตอรอยด์ ( Steroid ) อยู่แล้วจึงถูกร่างกายนำไปใช้ผลิต สเตอรอยด์ฮอร์โมน ( Steroid Hormones ) และคอเลสเตอรอลยังเป็นองค์ประกอบอย่างหนึ่งที่เป็นแหล่งกำเนิดของฮอร์โมนในส่วนต่างๆของร่างกายรวมทั้งฮอร์โมนเพศด้วย เช่น

  • Cortisol และ  Aldosterone สำหรับต่อมอะดรินัส  ( ต่อมหมวกไต ) ในการควบคุมอารมณ์ ควบคุมโซเดียม
  • Testosterone ( ฮอร์โมนเพศชาย )  และ  Estrogen ( ฮอร์โมนเพศหญิง ) ซึ่งเป็นฮอร์โมนเพศ ช่วยให้ร่างกายตื่นตัว มีความกระชุ่มกระชวย เพิ่มอารมณ์ทางเพศทั้งชายและหญิง ซึ่งหากผู้ใดมีการกินยาเพื่อลดคอเลสเตอรอลจะส่งผลให้ระดับฮอร์โมนต่างๆ เหล่านี้จะลดตามไปด้วย

5. คอเลสเตอรอลเป็นฉนวนปกป้องห่อหุ้มเส้นใยประสาท ( To Insulate Nerve Fibres ) คอเลสเตอรอลยังทำหน้าที่ปกป้องห่อหุ้มเส้นใยประสาท เพื่อให้การสื่อสารของเซลล์วิ่งไปตาม เส้นในประสาท ได้อย่างถูกต้อง ไม่ผิดเพี้ยนเพราะเส้นใยประสาททุกเส้นจะถูกห่อหุ้มด้วย ไมลีนซีธ ( Myelin Sheath ) ที่ผลิตด้วยคอเลสเตอรอล เสมือนเป็นฉนวนสายไฟฟ้านั่นเองซึ่งหากระบบนี้ทำงานผิดพลาดระบบประสาทในร่างกายก็อาจผิดเพี้ยนตามไปด้วย เช่น จมูกรับกลิ่นไม่ได้ มีอาการมือสั่น มีอาการเดินเซ มีอาการความจำเสื่อมเป็นต้นเราสามารถพบตัวอย่างนี้ได้จาก เนื้อมันสมองของมนุษย์ หรือ หมูที่จะเต็มไปด้วยคอเลสเตอรอลที่ทำหน้าที่นี้

คอเลสเตอรอล คือ สารชนิดหนึ่ง ที่มีลักษณะเป็นกึ่งของแข็งและกึ่งของเหลวสามารถพบได้ในเซลล์ทั่วไปของอวัยวะในร่างกาย

คอเลสเตอรอลมีหลักเกณฑ์ในการทำงานอย่างไร

สำหรับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิดรวมถึงมนุษย์ คอเลสเตอรอล เป็นสิ่งที่มีความจำเป็นต่อการดำรงชีวิต เพื่อใช้ในการทำหน้าที่ต่างๆในแต่ละวัน คอเลสเตอรอลมาจากการทานอาหารต่างๆเข้าไป หรือสามารถผลิตได้เองจากอวัยวะในร่างกาย เช่น ตับ ลำไส้เล็ก ต่อมอะดรินัล สมอง รวมถึง รกในครรภ์ของมารดาที่อุ้มท้อง ก็สามารถผลิตคอเลสเตอรอลสำหรับใช้สร้างฮอร์โมนเพศ Progesterone เพื่อรักษาทารกในครรภ์ไม่ให้แท้งก่อนกำหนดคลอด
มีตัวเลขโดยประมาณว่า จำนวนคอเลสเตอรอลที่ใช้หมุนเวียน ซึ่งเกิดขึ้นจากการผลิตเองของร่างกายเป็นหลัก รวมกับส่วนที่ได้จากบริโภคจากอาหาร ประมาณ 200 -300 มิลลิกรัม หรือคิดเป็น 30% จากจำนวนคอเลสเตอรอลทั้งหมดที่ร่างกายได้รับต่อวัน และนำไปหักลบด้วยจำนวนที่ใช้ไปในแต่ละวัน คือ จำนวนที่เหลือหมุนเวียนเท่ากับ 1,100 มิลลิกรัม

คอเลสเตอรอลถูกใช้อย่างไร?

จำนวนคอเลสเตอรอลที่จะถูกใช้งานไปแต่ละวัน จะมีหลักเกณฑ์การทำงาน ดังต่อไปนี้

1. ถูกใช้ในงานตามหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ 

2. ถูกตับนำไปผลิตเป็นน้ำดี ( Bile ) คอเลสเตอรอลเป็นวัตถุดิบอย่างหนึ่งที่ตับจะนำไปผลิตเป็นน้ำดี และส่งออกไปยังลำไส้เล็ก เพื่อนำไปใช้ในการย่อยอาหารประเภทไขมัน หลังจากนั้นลำไส้เล็กจะทำการดูดซึมคอเลสเตอรอลเหล่านั้นที่อยู่ในรูปของน้ำดีกลับคืนมา ในปริมาณมากถึง 92-97 % เท่ากับว่ามีการใช้ คอเลสเตอรอล ใน กระบวนการนี้ไปเพียง 3-8 % เท่านั้น ส่วนอาหารในกลุ่มของใยอาหารหรือ Fiber เช่น ผักและผลไม้ต่างๆ ลำไส้เล็กจะไม่สามารถดูดซึมคอเลสเตอรอลกลับไปได้ เนื่องจากในใยอาหารจะทำการดูดซับคอเลสเตอรอลให้ออกไปพร้อมกับกากอาหาร ผ่านการขับถ่ายอุจจาระทำให้ค่าระดับคอเลสเตอรอลลดอย่างเป็นธรรมชาติที่สุด

คอเลสเตอรอล มีกี่ประเภท

1. อาหารที่ไม่มีค่าคอเลสเตอรอล ได้แก่ อาหารที่มาจากผักและผลไม้ต่างๆ เช่น มะพร้าว ส้ม องุ่น ผักคะน้า แครอท เป็นต้น หรืออาหารที่มาจาก น้ำมันที่สกัดจากพืชออกมา เช่น น้ำมันปาล์ม น้ำมันมะพร้าว น้ำมันถั่ว น้ำมันมะกอก ก็จะไม่มีค่าคอเลสเตอรอลเลย
2. อาหารที่มีค่าคอเลสเตอรอล ได้แก่ อาหารที่มาจากตัวสัตว์หรือกำเนิดมาจากสัตว์ก่อนที่มนุษย์จะนำมาบริโภค เช่น เนื้อสัตว์ต่างๆ น้ำมันจากเนื้อสัตว์ ไข่ นมวัว นมพร่องมันเนย เป็นต้นสิ่งเหล่านี้ล้วนมีจำนวนคอเลสเตอรอลปริมาณมากน้อยแตกต่างกันไป

เหตุผลที่ร่างกายมีคอเลสเตอรอลมากเกินความจำเป็น

หากในแต่ละวันเราเลือกทานอาหารเฉพาะประเภทที่ไม่มีคอเลสเตอรอลเลย เช่น อาหารที่ได้จากพืช ซึ่งตรงนี้จะไม่กระทบต่อร่างกายแต่อย่างใด เนื่องจากตามธรรมชาติปกติแล้วร่างกายจะผลิตคอเลสเตอรอลขึ้นมาใช้ได้เอง ซึ่งการผลิตขึ้นมานี้อาจจะไม่ได้ผลิตคอเลสเตอรอลเฉพาะปริมาณที่จำเป็นต้องใช้ในแต่ละวันเท่านั้น ร่างกายอาจจะผลิตออกมามากกว่านั้นได้ เนื่องจากไม่มีกลไกในการยับยั้ง มีเพียงแต่กลไกที่มีการดึงเอา 2 อะตอมของคาร์บอนในรูปอะซิเตต ที่เรียกว่า 2-Carbon Acetate จากอาหารทั่วไปมาสร้างคอเลสเตอรอลได้เสมอ โดยเงื่อนไขที่ร่างกายผลิตคอเลสเตอรอลขึ้นเองเกินความจำเป็นมักเกิดจากปัจจัย ดังนี้

1. กินอาหารในปริมาณที่มากเกินความจำเป็น หรือ การกินอาหารมากกว่าที่ร่างกายควรได้รับในแต่ละมื้อแต่ละวัน
2.อาหารที่กินเข้าไป เป็นอาหารที่มีปริมาณน้ำตาลมาก และเป็นอาหารที่มีไขมันอิ่มตัว ( Saturated Fat ) รวมทั้งเป็นไขมันทรานส์ ( Trans Fat ) และไขมันจากเนื้อสัตว์
3. เกิดจากความเครียดหรือความวิตกกังวล เนื่องจากจะไปทำให้ต่อมอะดรินัล สร้างฮอร์โมน บังคับให้ร่างกายผลิตคอเลสเตอรอลขึ้นมามากเกินความจำเป็นที่ร่างกายจะใช้งาน

บทบาทของ ไลโปโปรตีน กับคอเลสเตอรอล

โดยปกติแล้ว คอเลสเตอรอล ไม่สามารถเข้าสู่คอเลสเตอรอลในร่างกายได้เอง แต่จะอาศัยสารที่ชื่อว่า “ ไลโปโปรตีน ” เป็นตัวชักนำและพาคอเลสเตอรอลเข้าสู่กระแสเลือด ไลโปโปรตีนเปรียบเสมือนพาหนะขนส่ง ให้คอเลสเตอรอล

ไลโปโปรตีน ( Lipoprotein ) คือ สารประกอบของโปรตีน ผสมกับไขมัน หากชนิดใดมีอัตราส่วนไขมันมาก แต่โปรตีนน้อย ก็เรียกว่าเป็น ไลโปโปรตีนความหนาแน่นต่ำ นั่นคือ Low Density Lipoprotein เรียกย่อๆ ว่า LDL ซึ่งไลโปโปรตีน ที่สำคัญ และเรียงลำดับจากความหนาแน่นต่ำที่สุด ไปสู่ความหนาแน่นสูง 4 ตัว ได้แก่

See also  วิธี Coaching ที่ทำให้คนพัฒนา และทำงานได้เต็มขีดความสามารถ | SUPER PRODUCTIVE EP.5 | การทํางานที่มีประสิทธิภาพ

1. Chylomicron
2. VLDL ย่อมาจาก Very Low Density Lipoprotein
3. LDL หากคอเลสเตอรอลเกาะ LDL จะเรียกว่า LDL- Cholesterol หรือ LDL– C จะมีบทบาทช่วยกันนำคอเลสเตอรอลจากตับออกไปแจกจ่ายให้กับทั่วร่างกาย LDL จึงถือว่าเป็น “ คอเลสเตอรอลชนิดร้าย ” ที่ไปเพิ่มค่าคอเลสเตอรอลในร่างกายให้สูงขึ้น
4. HDL หากคอเลสเตอรอลเกาะ HDL จะถูกเรียกว่า HDL-C ซึ่งจะมีบทบาทตรงกันข้ามกับ LDL- C กล่าวคือ HDL จะทำหน้าที่ในการไล่จับคอเลสเตอรอลทั่วร่างกาย กลับส่งคืนไปให้ตับทำลาย โดยจะผลิตเป็นน้ำดีออกมาแทนเพราะฉะนั้น HDL จึงถือว่าเป็น “ คอเลสเตอรอลชนิดดี ” ที่จะช่วยให้คอเลสเตอรอลทั่วร่างกาย มีค่าลดน้อยลง หาก HDL เพิ่มขึ้นมากเท่าใด ค่าคอเลสเตอรอลรวม จะลดลงได้มากเท่านั้น

การตรวจวัดปริมาณของคอเลสเตอรอล

การตรวจวัดปริมาณของ คอเลสเตอรอล หมายถึง เป็นค่าที่ใช้วัดระดับคอเลสเตอรอลรวม ซึ่งมีทั้งคอเลสเตอรอล ชนิดดีและคอเลสเตอรอลชนิดไม่ดีปนกันอยู่  ซึ่งในการตรวจสอบจะมีค่าปกติของคอเลสเตอรอลดังนี้

ค่าปกติของคอเลสเตอรอล

ผู้ใหญ่/ผู้สูงอายุ     ปริมาณที่เหมาะสมต้องไม่เกิน 200 mg / dL

เด็ก    ปริมาณที่เหมาะสมต้องอยู่ระหว่าง  120 – 200 mg / dL

ค่าปกติของคอเลสเตอรอล

1. ค่าคอเลสเตอรอลต่ำกว่าปกติ หมายถึง กรณีที่วัดค่าคอเลสเตอรอลได้ต่ำกว่าค่าปกติ  ซึ่งสภาวะแบบนี้เกิดขึ้นได้ไม่บ่อยนัก ซึ่งอาจมีสาเหตุเกิดจาก

  • เกิดสภาวะทุโภชนา ( Malnutrition ) คือ ภาวะที่เกิดขึ้นจากการรับประทานอาหารไม่สมดุลกัน โดยอาจมีสารอาหารบางอย่างได้รับไม่เพียงพอ น้อยหรืออาจจะมากเกินไป
  • อาจมีเซลล์ตับตายเฉพาะส่วน ( Cellular Necrosis Of The Liver )
  • อาจเกิดจากสภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานผิดปกติ ( Hyperthyroidism )

2. ค่าคอเลสเตอรอลสูงกว่าปกติ หมายถึง กรณีที่วัดค่า คอเลสเตอรอล ได้สูงกว่าค่าปกติ  เรียกสภาวะนี้ว่า  Hypercholesterolemia ซึ่งสภาวะนี้จะเป็นอันตรายต่อร่างกาย เนื่องจากทำให้เกิดความเสี่ยง ในการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจได้หากไม่รีบรักษาให้ค่าลดลงเป็นปกติโดยค่าคอเลสเตอรอลสูงกว่าปกติ อาจเกิดจาก

  • อาจกำลังเกิดโรคตับอักเสบ ( Hepatitis )
  • อาจกำลังเกิดปัญหาท่อในถุงน้ำดีอุดตัน
  • อาจเกิดสภาวะโรคไต ( Nephrotic Syndrome )
  • อาจเกิดโรคตับอ่อนอักเสบ จึงอาจผลิเอนไซม์ย่อยอาหารไขมันและโปรตีนไม่ได้
  • อาจเกิดสภาวะดีซ่าน ในถุงน้ำดีเกิดการอุดตันขึ้น ( Obstructivejaundice ) ทำให้ตับไม่สามารถขับเซลล์เม็ดเลือดแดงที่ตายแล้ว ออกทางท่อถุงน้ำดีได้ จึงทำให้ค่า  Bilirubin ในเลือดสูงขึ้น มีผลทำให้เกิดอาการตัวเหลือง ตาเหลือง

ข้อแนะนำเพิ่มในการตรวจระดับคอเลสเตอรอล

1. การตรวจหาค่า  Total Cholesterol เพียงค่าเดียว ไม่สามารถอธิบายสุขภาพโดยรวมว่าดีหรือไม่อย่างไร แต่จะต้องใช้ค่าอื่นๆประกอบร่วมด้วยเสมอ

2. หากจะเจาะเลือกเพื่อตรวจระดับของ คอเลสเตอรอล ควรทำการตรวจค่าอื่นๆไปด้วยเลย หรือตรวจให้ครบ  Lipid Profile เช่น  HDL , LDL และ Triglyceride ในทุกครั้งที่ทำการตรวจ

อัตราส่วนของคอเลสเตอรอลที่เหมาะสมในร่างกาย สามารถคำนวณหาได้ ดังนี้

ระดับคอเลสเตอรอล ÷ ระดับ HDL

หรือ ไขมันดี High-Density Lipoprotein Cholesterol ( HDL-C )

ต้องได้ค่าน้อยกว่า 4  เช่น ระดับคอเลสเตอรอล วัดได้ 300 ระดับ HDL วัดได้ 90

จะได้ 300 ÷ 90 = 3.33

ค่าคอเลสเตอรอลเท่ากับ 3 ซึ่งน้อยกว่า 4 อยู่ในระดับดีปานกลาง

หมายเหตุ :
ระดับคอเลสเตอรอล 1 = ดีมาก
ระดับคอเลสเตอรอล 2 = ดี
ระดับคอเลสเตอรอล 3 = ดีปานกลาง
ระดับคอเลสเตอรอล 4 = พอใช้
ระดับคอเลสเตอรอล มากกว่า 4 ขึ้นไป = แย่
หากค่าคอเลสเตอรอลมากกว่าระดับ 4 ต้องเพิ่มระดับคอเลสตอลรอล ด้วยการทานไขมันดี ซึ่งมีอยู่ในน้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น

ดังนั้นเกณฑ์ปกติของระดับคอเลสเตอรอลในเลือด คือ
ระดับคอเลสเตอรอลรวม ( Total cholesterol ) น้อยกว่า 200 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
ระดับ LDL น้อยกว่า 130 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
ระดับ HDL มากกว่า 40 มิลลิกรัม/เดซิลิตร

หากไม่ได้ศึกษาข้อมูลคอเลสเตอรอลมาก่อน หลายคนก็ยังคงมีความเข้าใจที่ผิดๆต่อไปเกี่ยวกับคอเลสเตอรอล ที่มักมองว่า คอเลสเตอรอล คือ ไขมัน เป็นสิ่งเลวร้ายและอันตรายต่อร่างกาย แต่ในความเป็นจริงแล้ว จะเห็นได้ว่า คอเลสเตอรอล มีทั้งข้อดีที่เป็นประโยชน์และข้อเสียที่เป็นโทษต่อร่างกาย ซึ่งตัวเราเองควรรู้จักควบคุมปริมาณคอเลสเตอรอลในร่างกายตนเองให้อยู่ในปริมาณที่เหมาะสม ไม่ให้มากหรือน้อยเกินไป โดยเฉพาะเรื่องการทานอาหาร ซึ่งเป็นปัจจัยหลักที่ทำให้ใครหลายคนมีระดับของคอเลสเตอรอลที่สูงเกินค่ามาตรฐาน ซึ่งทำให้มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ เช่น โรคเกี่ยวกับหลอดเลือดหัวใจ และอีกหลายๆโรคที่ไม่เป็นผลดีต่อร่างกายเลย ดังนั้น จึงควรปรับพฤติกรรมการกินของตนเอง ก่อนที่จะเกิดภาวะ คอเลสเตอรอลสูงกว่ามาตรฐาน เพื่อสุขภาพและความปลอดภัยของตัวเราเอง

อ่านบทความที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมตามลิ้งค์ด้านล่าง

[Update] คอเลสเตอรอล ( Cholesterol ) คือ อะไร ? | จากอะไร – Sonduongpaper

คอเลสเตอรอล มีหน้าที่และความสําคัญอย่างไร ?

คอเลสเตอรอลมีความสำคัญต่อร่างกาย เพราะ คอเลสเตอรอลเป็นสารลักษณะเหมือนขี้ผึ้ง ( Waxy Substance ) แต่ละวันมนุษย์จะต้องใช้คอเลสเตอรอลในการดำรงชีวิต โดยคอเลสเตอรอลมีบทบาทและหน้าที่ดังต่อไปนี้

1. คอเลสเตอรอลเป็นองค์ประกอบของเยื่อผนังห่อเซลล์ทุกเซลล์ทั่งร่างกาย ( ซึ่งมีประมาณ 100 ล้านล้านเซลล์) เพื่อสร้างคุณสมบัติความเลื่อนไหลไปมา ( Fluidity ) ทำให้เกิดความสะดวกต่อการผ่านเข้า – ออกเซลล์ ของสารอาหาร วิตามินและแร่ธาตุต่างๆ เป็นต้น

2. คอเลสเตอรอลเป็นวัตถุดิบให้ร่างกายผลิตน้ำดี ( Bile ) เนื่องจากน้ำดีเป็นสิ่งที่ร่างกายจะต้องใช้ในการย่อยอาหารประเภทไขมัน รวมถึงช่วยในการดูดซึมวิตามินที่ละลายอยู่ในไขมัน เช่น วิตามินเอ  วิตามินดี  วิตามินอี และวิตามินเค เพื่อให้ร่างกายได้นำวิตามินเหล่านี้ไปใช้ประโยชน์ต่อไป

3. คอเลสเตอรอลเป็นสารเริ่มต้น ( Precursor ) หรือเป็นวัตถุดิบให้ร่างกายใช้สังเคราะห์วิตามินดี ขึ้นมาใช้เมื่อร่างกายได้รับแสงได้ โดยอาจจะเกิดจากความตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ได้ บริเวณใต้ผิวหนังของมนุษย์เราที่มี คอเลสเตอรอล จะมีกระบวนการที่จะทำให้แสงยูวีเหล่านี้กลับกลายมาเป็น วิตามินดี ซึ่งจะมีปะโยชน์ต่อร่างกายคือ

4. นำไปใช้ผลิตผลิตฮอร์โมนเพศในร่างกาย  คอเลสเตอรอลซึ่งเป็นสารสเตอรอยด์ ( Steroid ) อยู่แล้วจึงถูกร่างกายนำไปใช้ผลิต สเตอรอยด์ฮอร์โมน ( Steroid Hormones ) และคอเลสเตอรอลยังเป็นองค์ประกอบอย่างหนึ่งที่เป็นแหล่งกำเนิดของฮอร์โมนในส่วนต่างๆของร่างกายรวมทั้งฮอร์โมนเพศด้วย เช่น

  • Cortisol และ  Aldosterone สำหรับต่อมอะดรินัส  ( ต่อมหมวกไต ) ในการควบคุมอารมณ์ ควบคุมโซเดียม
  • Testosterone ( ฮอร์โมนเพศชาย )  และ  Estrogen ( ฮอร์โมนเพศหญิง ) ซึ่งเป็นฮอร์โมนเพศ ช่วยให้ร่างกายตื่นตัว มีความกระชุ่มกระชวย เพิ่มอารมณ์ทางเพศทั้งชายและหญิง ซึ่งหากผู้ใดมีการกินยาเพื่อลดคอเลสเตอรอลจะส่งผลให้ระดับฮอร์โมนต่างๆ เหล่านี้จะลดตามไปด้วย

5. คอเลสเตอรอลเป็นฉนวนปกป้องห่อหุ้มเส้นใยประสาท ( To Insulate Nerve Fibres ) คอเลสเตอรอลยังทำหน้าที่ปกป้องห่อหุ้มเส้นใยประสาท เพื่อให้การสื่อสารของเซลล์วิ่งไปตาม เส้นในประสาท ได้อย่างถูกต้อง ไม่ผิดเพี้ยนเพราะเส้นใยประสาททุกเส้นจะถูกห่อหุ้มด้วย ไมลีนซีธ ( Myelin Sheath ) ที่ผลิตด้วยคอเลสเตอรอล เสมือนเป็นฉนวนสายไฟฟ้านั่นเองซึ่งหากระบบนี้ทำงานผิดพลาดระบบประสาทในร่างกายก็อาจผิดเพี้ยนตามไปด้วย เช่น จมูกรับกลิ่นไม่ได้ มีอาการมือสั่น มีอาการเดินเซ มีอาการความจำเสื่อมเป็นต้นเราสามารถพบตัวอย่างนี้ได้จาก เนื้อมันสมองของมนุษย์ หรือ หมูที่จะเต็มไปด้วยคอเลสเตอรอลที่ทำหน้าที่นี้

คอเลสเตอรอล คือ สารชนิดหนึ่ง ที่มีลักษณะเป็นกึ่งของแข็งและกึ่งของเหลวสามารถพบได้ในเซลล์ทั่วไปของอวัยวะในร่างกาย

คอเลสเตอรอลมีหลักเกณฑ์ในการทำงานอย่างไร

สำหรับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิดรวมถึงมนุษย์ คอเลสเตอรอล เป็นสิ่งที่มีความจำเป็นต่อการดำรงชีวิต เพื่อใช้ในการทำหน้าที่ต่างๆในแต่ละวัน คอเลสเตอรอลมาจากการทานอาหารต่างๆเข้าไป หรือสามารถผลิตได้เองจากอวัยวะในร่างกาย เช่น ตับ ลำไส้เล็ก ต่อมอะดรินัล สมอง รวมถึง รกในครรภ์ของมารดาที่อุ้มท้อง ก็สามารถผลิตคอเลสเตอรอลสำหรับใช้สร้างฮอร์โมนเพศ Progesterone เพื่อรักษาทารกในครรภ์ไม่ให้แท้งก่อนกำหนดคลอด
มีตัวเลขโดยประมาณว่า จำนวนคอเลสเตอรอลที่ใช้หมุนเวียน ซึ่งเกิดขึ้นจากการผลิตเองของร่างกายเป็นหลัก รวมกับส่วนที่ได้จากบริโภคจากอาหาร ประมาณ 200 -300 มิลลิกรัม หรือคิดเป็น 30% จากจำนวนคอเลสเตอรอลทั้งหมดที่ร่างกายได้รับต่อวัน และนำไปหักลบด้วยจำนวนที่ใช้ไปในแต่ละวัน คือ จำนวนที่เหลือหมุนเวียนเท่ากับ 1,100 มิลลิกรัม

See also  อวกาศ !! ข้างนอกโลก ของจริง เขาทำไรกันไปดู? | ดู โลก

คอเลสเตอรอลถูกใช้อย่างไร?

จำนวนคอเลสเตอรอลที่จะถูกใช้งานไปแต่ละวัน จะมีหลักเกณฑ์การทำงาน ดังต่อไปนี้

1. ถูกใช้ในงานตามหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ 

2. ถูกตับนำไปผลิตเป็นน้ำดี ( Bile ) คอเลสเตอรอลเป็นวัตถุดิบอย่างหนึ่งที่ตับจะนำไปผลิตเป็นน้ำดี และส่งออกไปยังลำไส้เล็ก เพื่อนำไปใช้ในการย่อยอาหารประเภทไขมัน หลังจากนั้นลำไส้เล็กจะทำการดูดซึมคอเลสเตอรอลเหล่านั้นที่อยู่ในรูปของน้ำดีกลับคืนมา ในปริมาณมากถึง 92-97 % เท่ากับว่ามีการใช้ คอเลสเตอรอล ใน กระบวนการนี้ไปเพียง 3-8 % เท่านั้น ส่วนอาหารในกลุ่มของใยอาหารหรือ Fiber เช่น ผักและผลไม้ต่างๆ ลำไส้เล็กจะไม่สามารถดูดซึมคอเลสเตอรอลกลับไปได้ เนื่องจากในใยอาหารจะทำการดูดซับคอเลสเตอรอลให้ออกไปพร้อมกับกากอาหาร ผ่านการขับถ่ายอุจจาระทำให้ค่าระดับคอเลสเตอรอลลดอย่างเป็นธรรมชาติที่สุด

คอเลสเตอรอล มีกี่ประเภท

1. อาหารที่ไม่มีค่าคอเลสเตอรอล ได้แก่ อาหารที่มาจากผักและผลไม้ต่างๆ เช่น มะพร้าว ส้ม องุ่น ผักคะน้า แครอท เป็นต้น หรืออาหารที่มาจาก น้ำมันที่สกัดจากพืชออกมา เช่น น้ำมันปาล์ม น้ำมันมะพร้าว น้ำมันถั่ว น้ำมันมะกอก ก็จะไม่มีค่าคอเลสเตอรอลเลย
2. อาหารที่มีค่าคอเลสเตอรอล ได้แก่ อาหารที่มาจากตัวสัตว์หรือกำเนิดมาจากสัตว์ก่อนที่มนุษย์จะนำมาบริโภค เช่น เนื้อสัตว์ต่างๆ น้ำมันจากเนื้อสัตว์ ไข่ นมวัว นมพร่องมันเนย เป็นต้นสิ่งเหล่านี้ล้วนมีจำนวนคอเลสเตอรอลปริมาณมากน้อยแตกต่างกันไป

เหตุผลที่ร่างกายมีคอเลสเตอรอลมากเกินความจำเป็น

หากในแต่ละวันเราเลือกทานอาหารเฉพาะประเภทที่ไม่มีคอเลสเตอรอลเลย เช่น อาหารที่ได้จากพืช ซึ่งตรงนี้จะไม่กระทบต่อร่างกายแต่อย่างใด เนื่องจากตามธรรมชาติปกติแล้วร่างกายจะผลิตคอเลสเตอรอลขึ้นมาใช้ได้เอง ซึ่งการผลิตขึ้นมานี้อาจจะไม่ได้ผลิตคอเลสเตอรอลเฉพาะปริมาณที่จำเป็นต้องใช้ในแต่ละวันเท่านั้น ร่างกายอาจจะผลิตออกมามากกว่านั้นได้ เนื่องจากไม่มีกลไกในการยับยั้ง มีเพียงแต่กลไกที่มีการดึงเอา 2 อะตอมของคาร์บอนในรูปอะซิเตต ที่เรียกว่า 2-Carbon Acetate จากอาหารทั่วไปมาสร้างคอเลสเตอรอลได้เสมอ โดยเงื่อนไขที่ร่างกายผลิตคอเลสเตอรอลขึ้นเองเกินความจำเป็นมักเกิดจากปัจจัย ดังนี้

1. กินอาหารในปริมาณที่มากเกินความจำเป็น หรือ การกินอาหารมากกว่าที่ร่างกายควรได้รับในแต่ละมื้อแต่ละวัน
2.อาหารที่กินเข้าไป เป็นอาหารที่มีปริมาณน้ำตาลมาก และเป็นอาหารที่มีไขมันอิ่มตัว ( Saturated Fat ) รวมทั้งเป็นไขมันทรานส์ ( Trans Fat ) และไขมันจากเนื้อสัตว์
3. เกิดจากความเครียดหรือความวิตกกังวล เนื่องจากจะไปทำให้ต่อมอะดรินัล สร้างฮอร์โมน บังคับให้ร่างกายผลิตคอเลสเตอรอลขึ้นมามากเกินความจำเป็นที่ร่างกายจะใช้งาน

บทบาทของ ไลโปโปรตีน กับคอเลสเตอรอล

โดยปกติแล้ว คอเลสเตอรอล ไม่สามารถเข้าสู่คอเลสเตอรอลในร่างกายได้เอง แต่จะอาศัยสารที่ชื่อว่า “ ไลโปโปรตีน ” เป็นตัวชักนำและพาคอเลสเตอรอลเข้าสู่กระแสเลือด ไลโปโปรตีนเปรียบเสมือนพาหนะขนส่ง ให้คอเลสเตอรอล

ไลโปโปรตีน ( Lipoprotein ) คือ สารประกอบของโปรตีน ผสมกับไขมัน หากชนิดใดมีอัตราส่วนไขมันมาก แต่โปรตีนน้อย ก็เรียกว่าเป็น ไลโปโปรตีนความหนาแน่นต่ำ นั่นคือ Low Density Lipoprotein เรียกย่อๆ ว่า LDL ซึ่งไลโปโปรตีน ที่สำคัญ และเรียงลำดับจากความหนาแน่นต่ำที่สุด ไปสู่ความหนาแน่นสูง 4 ตัว ได้แก่

1. Chylomicron
2. VLDL ย่อมาจาก Very Low Density Lipoprotein
3. LDL หากคอเลสเตอรอลเกาะ LDL จะเรียกว่า LDL- Cholesterol หรือ LDL– C จะมีบทบาทช่วยกันนำคอเลสเตอรอลจากตับออกไปแจกจ่ายให้กับทั่วร่างกาย LDL จึงถือว่าเป็น “ คอเลสเตอรอลชนิดร้าย ” ที่ไปเพิ่มค่าคอเลสเตอรอลในร่างกายให้สูงขึ้น
4. HDL หากคอเลสเตอรอลเกาะ HDL จะถูกเรียกว่า HDL-C ซึ่งจะมีบทบาทตรงกันข้ามกับ LDL- C กล่าวคือ HDL จะทำหน้าที่ในการไล่จับคอเลสเตอรอลทั่วร่างกาย กลับส่งคืนไปให้ตับทำลาย โดยจะผลิตเป็นน้ำดีออกมาแทนเพราะฉะนั้น HDL จึงถือว่าเป็น “ คอเลสเตอรอลชนิดดี ” ที่จะช่วยให้คอเลสเตอรอลทั่วร่างกาย มีค่าลดน้อยลง หาก HDL เพิ่มขึ้นมากเท่าใด ค่าคอเลสเตอรอลรวม จะลดลงได้มากเท่านั้น

การตรวจวัดปริมาณของคอเลสเตอรอล

การตรวจวัดปริมาณของ คอเลสเตอรอล หมายถึง เป็นค่าที่ใช้วัดระดับคอเลสเตอรอลรวม ซึ่งมีทั้งคอเลสเตอรอล ชนิดดีและคอเลสเตอรอลชนิดไม่ดีปนกันอยู่  ซึ่งในการตรวจสอบจะมีค่าปกติของคอเลสเตอรอลดังนี้

ค่าปกติของคอเลสเตอรอล

ผู้ใหญ่/ผู้สูงอายุ     ปริมาณที่เหมาะสมต้องไม่เกิน 200 mg / dL

เด็ก    ปริมาณที่เหมาะสมต้องอยู่ระหว่าง  120 – 200 mg / dL

ค่าปกติของคอเลสเตอรอล

1. ค่าคอเลสเตอรอลต่ำกว่าปกติ หมายถึง กรณีที่วัดค่าคอเลสเตอรอลได้ต่ำกว่าค่าปกติ  ซึ่งสภาวะแบบนี้เกิดขึ้นได้ไม่บ่อยนัก ซึ่งอาจมีสาเหตุเกิดจาก

  • เกิดสภาวะทุโภชนา ( Malnutrition ) คือ ภาวะที่เกิดขึ้นจากการรับประทานอาหารไม่สมดุลกัน โดยอาจมีสารอาหารบางอย่างได้รับไม่เพียงพอ น้อยหรืออาจจะมากเกินไป
  • อาจมีเซลล์ตับตายเฉพาะส่วน ( Cellular Necrosis Of The Liver )
  • อาจเกิดจากสภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานผิดปกติ ( Hyperthyroidism )

2. ค่าคอเลสเตอรอลสูงกว่าปกติ หมายถึง กรณีที่วัดค่า คอเลสเตอรอล ได้สูงกว่าค่าปกติ  เรียกสภาวะนี้ว่า  Hypercholesterolemia ซึ่งสภาวะนี้จะเป็นอันตรายต่อร่างกาย เนื่องจากทำให้เกิดความเสี่ยง ในการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจได้หากไม่รีบรักษาให้ค่าลดลงเป็นปกติโดยค่าคอเลสเตอรอลสูงกว่าปกติ อาจเกิดจาก

  • อาจกำลังเกิดโรคตับอักเสบ ( Hepatitis )
  • อาจกำลังเกิดปัญหาท่อในถุงน้ำดีอุดตัน
  • อาจเกิดสภาวะโรคไต ( Nephrotic Syndrome )
  • อาจเกิดโรคตับอ่อนอักเสบ จึงอาจผลิเอนไซม์ย่อยอาหารไขมันและโปรตีนไม่ได้
  • อาจเกิดสภาวะดีซ่าน ในถุงน้ำดีเกิดการอุดตันขึ้น ( Obstructivejaundice ) ทำให้ตับไม่สามารถขับเซลล์เม็ดเลือดแดงที่ตายแล้ว ออกทางท่อถุงน้ำดีได้ จึงทำให้ค่า  Bilirubin ในเลือดสูงขึ้น มีผลทำให้เกิดอาการตัวเหลือง ตาเหลือง

ข้อแนะนำเพิ่มในการตรวจระดับคอเลสเตอรอล

1. การตรวจหาค่า  Total Cholesterol เพียงค่าเดียว ไม่สามารถอธิบายสุขภาพโดยรวมว่าดีหรือไม่อย่างไร แต่จะต้องใช้ค่าอื่นๆประกอบร่วมด้วยเสมอ

2. หากจะเจาะเลือกเพื่อตรวจระดับของ คอเลสเตอรอล ควรทำการตรวจค่าอื่นๆไปด้วยเลย หรือตรวจให้ครบ  Lipid Profile เช่น  HDL , LDL และ Triglyceride ในทุกครั้งที่ทำการตรวจ

See also  รีวิว วิธีติดฟิล์มกระจกUV แบบด้าน ยี่ห้อ X One UV Pro Full Glue | Gadgetzone | ข่าวสารล่าสุดเกี่ยวกับ ติดฟิล์มมือถือ

อัตราส่วนของคอเลสเตอรอลที่เหมาะสมในร่างกาย สามารถคำนวณหาได้ ดังนี้

ระดับคอเลสเตอรอล ÷ ระดับ HDL

หรือ ไขมันดี High-Density Lipoprotein Cholesterol ( HDL-C )

ต้องได้ค่าน้อยกว่า 4  เช่น ระดับคอเลสเตอรอล วัดได้ 300 ระดับ HDL วัดได้ 90

จะได้ 300 ÷ 90 = 3.33

ค่าคอเลสเตอรอลเท่ากับ 3 ซึ่งน้อยกว่า 4 อยู่ในระดับดีปานกลาง

หมายเหตุ :
ระดับคอเลสเตอรอล 1 = ดีมาก
ระดับคอเลสเตอรอล 2 = ดี
ระดับคอเลสเตอรอล 3 = ดีปานกลาง
ระดับคอเลสเตอรอล 4 = พอใช้
ระดับคอเลสเตอรอล มากกว่า 4 ขึ้นไป = แย่
หากค่าคอเลสเตอรอลมากกว่าระดับ 4 ต้องเพิ่มระดับคอเลสตอลรอล ด้วยการทานไขมันดี ซึ่งมีอยู่ในน้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น

ดังนั้นเกณฑ์ปกติของระดับคอเลสเตอรอลในเลือด คือ
ระดับคอเลสเตอรอลรวม ( Total cholesterol ) น้อยกว่า 200 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
ระดับ LDL น้อยกว่า 130 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
ระดับ HDL มากกว่า 40 มิลลิกรัม/เดซิลิตร

หากไม่ได้ศึกษาข้อมูลคอเลสเตอรอลมาก่อน หลายคนก็ยังคงมีความเข้าใจที่ผิดๆต่อไปเกี่ยวกับคอเลสเตอรอล ที่มักมองว่า คอเลสเตอรอล คือ ไขมัน เป็นสิ่งเลวร้ายและอันตรายต่อร่างกาย แต่ในความเป็นจริงแล้ว จะเห็นได้ว่า คอเลสเตอรอล มีทั้งข้อดีที่เป็นประโยชน์และข้อเสียที่เป็นโทษต่อร่างกาย ซึ่งตัวเราเองควรรู้จักควบคุมปริมาณคอเลสเตอรอลในร่างกายตนเองให้อยู่ในปริมาณที่เหมาะสม ไม่ให้มากหรือน้อยเกินไป โดยเฉพาะเรื่องการทานอาหาร ซึ่งเป็นปัจจัยหลักที่ทำให้ใครหลายคนมีระดับของคอเลสเตอรอลที่สูงเกินค่ามาตรฐาน ซึ่งทำให้มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ เช่น โรคเกี่ยวกับหลอดเลือดหัวใจ และอีกหลายๆโรคที่ไม่เป็นผลดีต่อร่างกายเลย ดังนั้น จึงควรปรับพฤติกรรมการกินของตนเอง ก่อนที่จะเกิดภาวะ คอเลสเตอรอลสูงกว่ามาตรฐาน เพื่อสุขภาพและความปลอดภัยของตัวเราเอง

อ่านบทความที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมตามลิ้งค์ด้านล่าง


แม่วาสนาคอบวม❗️เกิดจากอะไร❗️ตั้งท้องด้วย


ที่อยู่ปัจจุบัน182 หมู่3 ตำบลท่าม่วง อำเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์31150
ติดต่อโดยตรงT.06161680280650016976ควาญน้อย
LINE.0616168028
facebookช้างไทยสายแข็ง

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

แม่วาสนาคอบวม❗️เกิดจากอะไร❗️ตั้งท้องด้วย

ตะคริวเกิดจากอะไร


ตะคริวเกิดจากอะไร
มารู้จักสาเหตุและวิธีการป้องกัน
กรุณาโทรนัดคิวก่อนเข้ามารักษา
โทร.028 659 659
หรือนัดผ่านทางไลน์คลินิกกดที่ลิงค์ด้านล่างได้เลยนะคะ
https://line.me/R/ti/p/%40rptclinic
ราชพฤกษ์คลินิกกายภาพบำบัด
คลินิกเปิดทำการทุกวัน หยุดวันจันทร์
เวลาทำการ 9:00 17:30 น.
ข้อมูลการรักษาและบริการของคลินิก
กดลิงค์ด้านล่างนะคะ
www.ratchaphruekptclinic.com
กดลิงค์ติดตามหมอขวัญได้ทาง Facebook และ Line
FB: https://www.facebook.com/KhwanyingPT/
[email protected]: https://line.me/R/ti/p/%40khwanyingpt
แผนที่มาคลินิกคลิ๊กด้านล่างได้เลยค่ะ
https://goo.gl/maps/dnTZ9UBzRvRQeL8f9

ตะคริวเกิดจากอะไร

พลายโอเล่😤นายแม่นมาก❗สงสารแต่ก็อดขำไม่ได้😂😂มาดู


พลายโอเล่😤นายแม่นมาก❗สงสารแต่ก็อดขำไม่ได้😂😂มาดู

ทำไม มือชาเท้าชา เกิดจากอะไร รักษาอย่างไร | Numbness | พี่ปลา Healthy Fish


ทำไมมือชาเท้าชา เกิดจากอะไร รักษาอย่างไร | Numbness
อาการมือชาเท้าชา สามารถพบได้ในทุกเพศทุกวัย และ ตำแหน่งของอาการชา บอกความผิดปกติอะไรได้บ้าง
1.เส้นประสาทรักแร้ถูกกดทับ จะมีการชาบริเวณนิ้วก้อยเพียงนิ้วเดียว ซึ่งเกิดจากการถือโทรศัพท์มือถือเป็นเวลานาน
2. โรคเส้นประสาทกดทับบริเวณฝ่ามือ จะมีอาการชาที่นิ้วโป้ง นิ้วชี้ และนิ้วกลาง อาจพบการปวดชาที่มือไปจนถึงแขน
3.เอ็นกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือ มีอาการชาปลายนิ้วทุกนิ้วมือ ซึ่งมักจะเกิดขึ้นในช่วงเย็นหรือก่อนนอน เพราะมีการใช้ข้อมือในการทำงานอย่างหนักเป็นประจำทุกวัน
4.เส้นประสาทกดทับที่แขน จะมีอาการชาตามง่ามนิ้วโป้งและนิ้วชี้ อาจเกิดจากการนั่งหรือนอนทับแขนผิดท่า
5.กระดูกต้นคอเสื่อม จนมีปัญหากดทับเส้นประสาท จะมีอาการชาทั้งแขนไปจนถึงปลายนิ้วมือจนไม่สามารถทำอะไร ควรรีบไปพบแพทย์ทันที
6.ปลายเส้นประสาทเสื่อม หรืออักเสบ จะเกิดการชาที่ปลายมือและปลายเท้า ซึ่งเกิดจากการขาดวิตามินบีอย่างรุนแรง และอาจจะเป็นสัญญาณเตือนของโรคไต โรคมะเร็ง หรือได้รับสารพิษบางชนิด
7.หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท มีอาการชาบริเวณเท้าและลามขึ้นไปถึงสะโพก หากมีอาการรุนแรงจะเจ็บร้าวจนไม่สามารถเดินได้
อาการชาที่มาพร้อมโรค
1.โรคเบาหวาน เมื่อใดก็ตามที่โรคเบาหวานมีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น จะเริ่มเกิดการชาตามร่างกาย
2.ภาวะขาดไทรอยด์ นอกจากจะมีการชาแล้ว ยังพบการเกิดตะคริว และการปวดกล้ามเนื้อร่วมอยู่ด้วย
3.โรคเก๊าท์ โรครูมาตอยด์ ด้วยความที่โรคนี้เกี่ยวข้องกับกรดยูริกและกระดูก จึงอาจทำให้เกิดการชาตามมือตามเท้าได้
4.โรคพิษสุราเรื้อรัง แอลกอฮอล์จะเข้าไปทำลายระบบต่าง ๆ ของร่างกาย ซึ่งจะทำให้ร่างกายขาดวิตามินและสารอาหาร ส่งผลให้เกิดการชาตามร่างกาย
มือชาเท้าชา Numbness พี่ปลาHealthyFish

ทำไม มือชาเท้าชา เกิดจากอะไร รักษาอย่างไร | Numbness | พี่ปลา Healthy Fish

ลมในท้องเยอะ เกิดจากอะไร กินยาอะไร | EP.105


ลมในท้องเยอะ สาเหตุหลักๆ มาจากอะไร?
ยาขับลมมีหลายขนาน จะเลือกอย่างไรให้เหมาะ?
ข้อควรระวังในการทานยากลุ่มนี้มีอะไรบ้าง?
สรุปมาให้ฟังค่ะ
00:00 ลมในท้องเยอะ
00:48 สองสาเหตุที่ทำให้ลมเยอะ
01:02 1) ลมเยอะจาก “ไฟกำเริบ” + อาการ
01:45 ยารสเย็น ยารสสุขุมร้อน
03:46 2) ลมเยอะจาก “ไฟหย่อน” + อาการ
04:20 ยารสร้อน จุดไฟย่อย
05:43 + ลมเยอะจาก “ของเสียในไส้ ลมลงล่างหย่อน”
06:28 ข้อควรระวังในการกินยารสร้อน ขับลม
พท.ว.ภ.อุไรศรี (หมอเแดง แพทย์แผนไทย)
—————————
ช่องทางหลักในการติดต่อ/สั่งซื้อยา
Line: @healthydaisy 👉🏻 https://lin.ee/1hi1T6V
————————
กดติดตามช่อง Healthy Daisy ได้ที่ 👇🏻👇🏻
YouTube: https://www.youtube.com/channel/UCzdDaFDO4mkppOr6eVE256Q
Line: @healthydaisy https://lin.ee/1hi1T6V
Facebook: https://m.facebook.com/daisyinspire/
Website: https://daisyinspire.wordpress.com
ลมในท้องเยอะ ท้องอืด ยาขับลม ยาจุดไฟย่อย ยาช่วยย่อย ยารสร้อน สมุนไพร ยาแผนไทย โรคลม ลมในท้อง ลมกองหยาบ ลมกองละเอียด ลมตีขึ้นบน แน่นท้อง กรดไหลย้อน อาหารไม่ย่อย ลมในท้องวิธีแก้ นวดท้อง ประสะเจตพังคี ยาธาตุบรรจบ ประสะกะเพรา ยาหอมอินทจักร์ ยาหอมนวโกฐ ยาหอมเทพจิตร ยาหอมทิพโอสถ ยาหอมแก้ลมกองละเอียด ยาลม ยาธาตุ ยาธาตุน้ำแดง ยาธาตุอบเชย เบญจกูล หมอเแดงแพทย์แผนไทย healthydaisy

ลมในท้องเยอะ เกิดจากอะไร กินยาอะไร | EP.105

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Wiki

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ จากอะไร

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *