วิธีลดคลอเรสเตอรอล: คุณกำลังดูกระทู้
คอเลสเตอรอล มีหน้าที่และความสําคัญอย่างไร ?
คอเลสเตอรอลมีความสำคัญต่อร่างกาย เพราะ คอเลสเตอรอลเป็นสารลักษณะเหมือนขี้ผึ้ง ( Waxy Substance ) แต่ละวันมนุษย์จะต้องใช้คอเลสเตอรอลในการดำรงชีวิต โดยคอเลสเตอรอลมีบทบาทและหน้าที่ดังต่อไปนี้
1. คอเลสเตอรอลเป็นองค์ประกอบของเยื่อผนังห่อเซลล์ทุกเซลล์ทั่งร่างกาย ( ซึ่งมีประมาณ 100 ล้านล้านเซลล์) เพื่อสร้างคุณสมบัติความเลื่อนไหลไปมา ( Fluidity ) ทำให้เกิดความสะดวกต่อการผ่านเข้า – ออกเซลล์ ของสารอาหาร วิตามินและแร่ธาตุต่างๆ เป็นต้น
2. คอเลสเตอรอลเป็นวัตถุดิบให้ร่างกายผลิตน้ำดี ( Bile ) เนื่องจากน้ำดีเป็นสิ่งที่ร่างกายจะต้องใช้ในการย่อยอาหารประเภทไขมัน รวมถึงช่วยในการดูดซึมวิตามินที่ละลายอยู่ในไขมัน เช่น วิตามินเอ วิตามินดี วิตามินอี และวิตามินเค เพื่อให้ร่างกายได้นำวิตามินเหล่านี้ไปใช้ประโยชน์ต่อไป
3. คอเลสเตอรอลเป็นสารเริ่มต้น ( Precursor ) หรือเป็นวัตถุดิบให้ร่างกายใช้สังเคราะห์วิตามินดี ขึ้นมาใช้เมื่อร่างกายได้รับแสงได้ โดยอาจจะเกิดจากความตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ได้ บริเวณใต้ผิวหนังของมนุษย์เราที่มี คอเลสเตอรอล จะมีกระบวนการที่จะทำให้แสงยูวีเหล่านี้กลับกลายมาเป็น วิตามินดี ซึ่งจะมีปะโยชน์ต่อร่างกายคือ
4. นำไปใช้ผลิตผลิตฮอร์โมนเพศในร่างกาย คอเลสเตอรอลซึ่งเป็นสารสเตอรอยด์ ( Steroid ) อยู่แล้วจึงถูกร่างกายนำไปใช้ผลิต สเตอรอยด์ฮอร์โมน ( Steroid Hormones ) และคอเลสเตอรอลยังเป็นองค์ประกอบอย่างหนึ่งที่เป็นแหล่งกำเนิดของฮอร์โมนในส่วนต่างๆของร่างกายรวมทั้งฮอร์โมนเพศด้วย เช่น
- Cortisol และ Aldosterone สำหรับต่อมอะดรินัส ( ต่อมหมวกไต ) ในการควบคุมอารมณ์ ควบคุมโซเดียม
- Testosterone ( ฮอร์โมนเพศชาย ) และ Estrogen ( ฮอร์โมนเพศหญิง ) ซึ่งเป็นฮอร์โมนเพศ ช่วยให้ร่างกายตื่นตัว มีความกระชุ่มกระชวย เพิ่มอารมณ์ทางเพศทั้งชายและหญิง ซึ่งหากผู้ใดมีการกินยาเพื่อลดคอเลสเตอรอลจะส่งผลให้ระดับฮอร์โมนต่างๆ เหล่านี้จะลดตามไปด้วย
5. คอเลสเตอรอลเป็นฉนวนปกป้องห่อหุ้มเส้นใยประสาท ( To Insulate Nerve Fibres ) คอเลสเตอรอลยังทำหน้าที่ปกป้องห่อหุ้มเส้นใยประสาท เพื่อให้การสื่อสารของเซลล์วิ่งไปตาม เส้นในประสาท ได้อย่างถูกต้อง ไม่ผิดเพี้ยนเพราะเส้นใยประสาททุกเส้นจะถูกห่อหุ้มด้วย ไมลีนซีธ ( Myelin Sheath ) ที่ผลิตด้วยคอเลสเตอรอล เสมือนเป็นฉนวนสายไฟฟ้านั่นเองซึ่งหากระบบนี้ทำงานผิดพลาดระบบประสาทในร่างกายก็อาจผิดเพี้ยนตามไปด้วย เช่น จมูกรับกลิ่นไม่ได้ มีอาการมือสั่น มีอาการเดินเซ มีอาการความจำเสื่อมเป็นต้นเราสามารถพบตัวอย่างนี้ได้จาก เนื้อมันสมองของมนุษย์ หรือ หมูที่จะเต็มไปด้วยคอเลสเตอรอลที่ทำหน้าที่นี้
คอเลสเตอรอล คือ สารชนิดหนึ่ง ที่มีลักษณะเป็นกึ่งของแข็งและกึ่งของเหลวสามารถพบได้ในเซลล์ทั่วไปของอวัยวะในร่างกาย
คอเลสเตอรอลมีหลักเกณฑ์ในการทำงานอย่างไร
สำหรับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิดรวมถึงมนุษย์ คอเลสเตอรอล เป็นสิ่งที่มีความจำเป็นต่อการดำรงชีวิต เพื่อใช้ในการทำหน้าที่ต่างๆในแต่ละวัน คอเลสเตอรอลมาจากการทานอาหารต่างๆเข้าไป หรือสามารถผลิตได้เองจากอวัยวะในร่างกาย เช่น ตับ ลำไส้เล็ก ต่อมอะดรินัล สมอง รวมถึง รกในครรภ์ของมารดาที่อุ้มท้อง ก็สามารถผลิตคอเลสเตอรอลสำหรับใช้สร้างฮอร์โมนเพศ Progesterone เพื่อรักษาทารกในครรภ์ไม่ให้แท้งก่อนกำหนดคลอด
มีตัวเลขโดยประมาณว่า จำนวนคอเลสเตอรอลที่ใช้หมุนเวียน ซึ่งเกิดขึ้นจากการผลิตเองของร่างกายเป็นหลัก รวมกับส่วนที่ได้จากบริโภคจากอาหาร ประมาณ 200 -300 มิลลิกรัม หรือคิดเป็น 30% จากจำนวนคอเลสเตอรอลทั้งหมดที่ร่างกายได้รับต่อวัน และนำไปหักลบด้วยจำนวนที่ใช้ไปในแต่ละวัน คือ จำนวนที่เหลือหมุนเวียนเท่ากับ 1,100 มิลลิกรัม
คอเลสเตอรอลถูกใช้อย่างไร?
จำนวนคอเลสเตอรอลที่จะถูกใช้งานไปแต่ละวัน จะมีหลักเกณฑ์การทำงาน ดังต่อไปนี้
1. ถูกใช้ในงานตามหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ
2. ถูกตับนำไปผลิตเป็นน้ำดี ( Bile ) คอเลสเตอรอลเป็นวัตถุดิบอย่างหนึ่งที่ตับจะนำไปผลิตเป็นน้ำดี และส่งออกไปยังลำไส้เล็ก เพื่อนำไปใช้ในการย่อยอาหารประเภทไขมัน หลังจากนั้นลำไส้เล็กจะทำการดูดซึมคอเลสเตอรอลเหล่านั้นที่อยู่ในรูปของน้ำดีกลับคืนมา ในปริมาณมากถึง 92-97 % เท่ากับว่ามีการใช้ คอเลสเตอรอล ใน กระบวนการนี้ไปเพียง 3-8 % เท่านั้น ส่วนอาหารในกลุ่มของใยอาหารหรือ Fiber เช่น ผักและผลไม้ต่างๆ ลำไส้เล็กจะไม่สามารถดูดซึมคอเลสเตอรอลกลับไปได้ เนื่องจากในใยอาหารจะทำการดูดซับคอเลสเตอรอลให้ออกไปพร้อมกับกากอาหาร ผ่านการขับถ่ายอุจจาระทำให้ค่าระดับคอเลสเตอรอลลดอย่างเป็นธรรมชาติที่สุด
คอเลสเตอรอล มีกี่ประเภท
1. อาหารที่ไม่มีค่าคอเลสเตอรอล ได้แก่ อาหารที่มาจากผักและผลไม้ต่างๆ เช่น มะพร้าว ส้ม องุ่น ผักคะน้า แครอท เป็นต้น หรืออาหารที่มาจาก น้ำมันที่สกัดจากพืชออกมา เช่น น้ำมันปาล์ม น้ำมันมะพร้าว น้ำมันถั่ว น้ำมันมะกอก ก็จะไม่มีค่าคอเลสเตอรอลเลย
2. อาหารที่มีค่าคอเลสเตอรอล ได้แก่ อาหารที่มาจากตัวสัตว์หรือกำเนิดมาจากสัตว์ก่อนที่มนุษย์จะนำมาบริโภค เช่น เนื้อสัตว์ต่างๆ น้ำมันจากเนื้อสัตว์ ไข่ นมวัว นมพร่องมันเนย เป็นต้นสิ่งเหล่านี้ล้วนมีจำนวนคอเลสเตอรอลปริมาณมากน้อยแตกต่างกันไป
เหตุผลที่ร่างกายมีคอเลสเตอรอลมากเกินความจำเป็น
หากในแต่ละวันเราเลือกทานอาหารเฉพาะประเภทที่ไม่มีคอเลสเตอรอลเลย เช่น อาหารที่ได้จากพืช ซึ่งตรงนี้จะไม่กระทบต่อร่างกายแต่อย่างใด เนื่องจากตามธรรมชาติปกติแล้วร่างกายจะผลิตคอเลสเตอรอลขึ้นมาใช้ได้เอง ซึ่งการผลิตขึ้นมานี้อาจจะไม่ได้ผลิตคอเลสเตอรอลเฉพาะปริมาณที่จำเป็นต้องใช้ในแต่ละวันเท่านั้น ร่างกายอาจจะผลิตออกมามากกว่านั้นได้ เนื่องจากไม่มีกลไกในการยับยั้ง มีเพียงแต่กลไกที่มีการดึงเอา 2 อะตอมของคาร์บอนในรูปอะซิเตต ที่เรียกว่า 2-Carbon Acetate จากอาหารทั่วไปมาสร้างคอเลสเตอรอลได้เสมอ โดยเงื่อนไขที่ร่างกายผลิตคอเลสเตอรอลขึ้นเองเกินความจำเป็นมักเกิดจากปัจจัย ดังนี้
1. กินอาหารในปริมาณที่มากเกินความจำเป็น หรือ การกินอาหารมากกว่าที่ร่างกายควรได้รับในแต่ละมื้อแต่ละวัน
2.อาหารที่กินเข้าไป เป็นอาหารที่มีปริมาณน้ำตาลมาก และเป็นอาหารที่มีไขมันอิ่มตัว ( Saturated Fat ) รวมทั้งเป็นไขมันทรานส์ ( Trans Fat ) และไขมันจากเนื้อสัตว์
3. เกิดจากความเครียดหรือความวิตกกังวล เนื่องจากจะไปทำให้ต่อมอะดรินัล สร้างฮอร์โมน บังคับให้ร่างกายผลิตคอเลสเตอรอลขึ้นมามากเกินความจำเป็นที่ร่างกายจะใช้งาน
บทบาทของ ไลโปโปรตีน กับคอเลสเตอรอล
โดยปกติแล้ว คอเลสเตอรอล ไม่สามารถเข้าสู่คอเลสเตอรอลในร่างกายได้เอง แต่จะอาศัยสารที่ชื่อว่า “ ไลโปโปรตีน ” เป็นตัวชักนำและพาคอเลสเตอรอลเข้าสู่กระแสเลือด ไลโปโปรตีนเปรียบเสมือนพาหนะขนส่ง ให้คอเลสเตอรอล
ไลโปโปรตีน ( Lipoprotein ) คือ สารประกอบของโปรตีน ผสมกับไขมัน หากชนิดใดมีอัตราส่วนไขมันมาก แต่โปรตีนน้อย ก็เรียกว่าเป็น ไลโปโปรตีนความหนาแน่นต่ำ นั่นคือ Low Density Lipoprotein เรียกย่อๆ ว่า LDL ซึ่งไลโปโปรตีน ที่สำคัญ และเรียงลำดับจากความหนาแน่นต่ำที่สุด ไปสู่ความหนาแน่นสูง 4 ตัว ได้แก่
1. Chylomicron
2. VLDL ย่อมาจาก Very Low Density Lipoprotein
3. LDL หากคอเลสเตอรอลเกาะ LDL จะเรียกว่า LDL- Cholesterol หรือ LDL– C จะมีบทบาทช่วยกันนำคอเลสเตอรอลจากตับออกไปแจกจ่ายให้กับทั่วร่างกาย LDL จึงถือว่าเป็น “ คอเลสเตอรอลชนิดร้าย ” ที่ไปเพิ่มค่าคอเลสเตอรอลในร่างกายให้สูงขึ้น
4. HDL หากคอเลสเตอรอลเกาะ HDL จะถูกเรียกว่า HDL-C ซึ่งจะมีบทบาทตรงกันข้ามกับ LDL- C กล่าวคือ HDL จะทำหน้าที่ในการไล่จับคอเลสเตอรอลทั่วร่างกาย กลับส่งคืนไปให้ตับทำลาย โดยจะผลิตเป็นน้ำดีออกมาแทนเพราะฉะนั้น HDL จึงถือว่าเป็น “ คอเลสเตอรอลชนิดดี ” ที่จะช่วยให้คอเลสเตอรอลทั่วร่างกาย มีค่าลดน้อยลง หาก HDL เพิ่มขึ้นมากเท่าใด ค่าคอเลสเตอรอลรวม จะลดลงได้มากเท่านั้น
การตรวจวัดปริมาณของคอเลสเตอรอล
การตรวจวัดปริมาณของ คอเลสเตอรอล หมายถึง เป็นค่าที่ใช้วัดระดับคอเลสเตอรอลรวม ซึ่งมีทั้งคอเลสเตอรอล ชนิดดีและคอเลสเตอรอลชนิดไม่ดีปนกันอยู่ ซึ่งในการตรวจสอบจะมีค่าปกติของคอเลสเตอรอลดังนี้
ค่าปกติของคอเลสเตอรอล
ผู้ใหญ่/ผู้สูงอายุ ปริมาณที่เหมาะสมต้องไม่เกิน 200 mg / dL
เด็ก ปริมาณที่เหมาะสมต้องอยู่ระหว่าง 120 – 200 mg / dL
ค่าปกติของคอเลสเตอรอล
1. ค่าคอเลสเตอรอลต่ำกว่าปกติ หมายถึง กรณีที่วัดค่าคอเลสเตอรอลได้ต่ำกว่าค่าปกติ ซึ่งสภาวะแบบนี้เกิดขึ้นได้ไม่บ่อยนัก ซึ่งอาจมีสาเหตุเกิดจาก
- เกิดสภาวะทุโภชนา ( Malnutrition ) คือ ภาวะที่เกิดขึ้นจากการรับประทานอาหารไม่สมดุลกัน โดยอาจมีสารอาหารบางอย่างได้รับไม่เพียงพอ น้อยหรืออาจจะมากเกินไป
- อาจมีเซลล์ตับตายเฉพาะส่วน ( Cellular Necrosis Of The Liver )
- อาจเกิดจากสภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานผิดปกติ ( Hyperthyroidism )
2. ค่าคอเลสเตอรอลสูงกว่าปกติ หมายถึง กรณีที่วัดค่า คอเลสเตอรอล ได้สูงกว่าค่าปกติ เรียกสภาวะนี้ว่า Hypercholesterolemia ซึ่งสภาวะนี้จะเป็นอันตรายต่อร่างกาย เนื่องจากทำให้เกิดความเสี่ยง ในการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจได้หากไม่รีบรักษาให้ค่าลดลงเป็นปกติโดยค่าคอเลสเตอรอลสูงกว่าปกติ อาจเกิดจาก
- อาจกำลังเกิดโรคตับอักเสบ ( Hepatitis )
- อาจกำลังเกิดปัญหาท่อในถุงน้ำดีอุดตัน
- อาจเกิดสภาวะโรคไต ( Nephrotic Syndrome )
- อาจเกิดโรคตับอ่อนอักเสบ จึงอาจผลิเอนไซม์ย่อยอาหารไขมันและโปรตีนไม่ได้
- อาจเกิดสภาวะดีซ่าน ในถุงน้ำดีเกิดการอุดตันขึ้น ( Obstructivejaundice ) ทำให้ตับไม่สามารถขับเซลล์เม็ดเลือดแดงที่ตายแล้ว ออกทางท่อถุงน้ำดีได้ จึงทำให้ค่า Bilirubin ในเลือดสูงขึ้น มีผลทำให้เกิดอาการตัวเหลือง ตาเหลือง
ข้อแนะนำเพิ่มในการตรวจระดับคอเลสเตอรอล
1. การตรวจหาค่า Total Cholesterol เพียงค่าเดียว ไม่สามารถอธิบายสุขภาพโดยรวมว่าดีหรือไม่อย่างไร แต่จะต้องใช้ค่าอื่นๆประกอบร่วมด้วยเสมอ
2. หากจะเจาะเลือกเพื่อตรวจระดับของ คอเลสเตอรอล ควรทำการตรวจค่าอื่นๆไปด้วยเลย หรือตรวจให้ครบ Lipid Profile เช่น HDL , LDL และ Triglyceride ในทุกครั้งที่ทำการตรวจ
อัตราส่วนของคอเลสเตอรอลที่เหมาะสมในร่างกาย สามารถคำนวณหาได้ ดังนี้
ระดับคอเลสเตอรอล ÷ ระดับ HDL
หรือ ไขมันดี High-Density Lipoprotein Cholesterol ( HDL-C )
ต้องได้ค่าน้อยกว่า 4 เช่น ระดับคอเลสเตอรอล วัดได้ 300 ระดับ HDL วัดได้ 90
จะได้ 300 ÷ 90 = 3.33
ค่าคอเลสเตอรอลเท่ากับ 3 ซึ่งน้อยกว่า 4 อยู่ในระดับดีปานกลาง
หมายเหตุ :
ระดับคอเลสเตอรอล 1 = ดีมาก
ระดับคอเลสเตอรอล 2 = ดี
ระดับคอเลสเตอรอล 3 = ดีปานกลาง
ระดับคอเลสเตอรอล 4 = พอใช้
ระดับคอเลสเตอรอล มากกว่า 4 ขึ้นไป = แย่
หากค่าคอเลสเตอรอลมากกว่าระดับ 4 ต้องเพิ่มระดับคอเลสตอลรอล ด้วยการทานไขมันดี ซึ่งมีอยู่ในน้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น
ดังนั้นเกณฑ์ปกติของระดับคอเลสเตอรอลในเลือด คือ
ระดับคอเลสเตอรอลรวม ( Total cholesterol ) น้อยกว่า 200 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
ระดับ LDL น้อยกว่า 130 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
ระดับ HDL มากกว่า 40 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
หากไม่ได้ศึกษาข้อมูลคอเลสเตอรอลมาก่อน หลายคนก็ยังคงมีความเข้าใจที่ผิดๆต่อไปเกี่ยวกับคอเลสเตอรอล ที่มักมองว่า คอเลสเตอรอล คือ ไขมัน เป็นสิ่งเลวร้ายและอันตรายต่อร่างกาย แต่ในความเป็นจริงแล้ว จะเห็นได้ว่า คอเลสเตอรอล มีทั้งข้อดีที่เป็นประโยชน์และข้อเสียที่เป็นโทษต่อร่างกาย ซึ่งตัวเราเองควรรู้จักควบคุมปริมาณคอเลสเตอรอลในร่างกายตนเองให้อยู่ในปริมาณที่เหมาะสม ไม่ให้มากหรือน้อยเกินไป โดยเฉพาะเรื่องการทานอาหาร ซึ่งเป็นปัจจัยหลักที่ทำให้ใครหลายคนมีระดับของคอเลสเตอรอลที่สูงเกินค่ามาตรฐาน ซึ่งทำให้มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ เช่น โรคเกี่ยวกับหลอดเลือดหัวใจ และอีกหลายๆโรคที่ไม่เป็นผลดีต่อร่างกายเลย ดังนั้น จึงควรปรับพฤติกรรมการกินของตนเอง ก่อนที่จะเกิดภาวะ คอเลสเตอรอลสูงกว่ามาตรฐาน เพื่อสุขภาพและความปลอดภัยของตัวเราเอง
อ่านบทความที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมตามลิ้งค์ด้านล่าง
[Update] คอเลสเตอรอล ( Cholesterol ) คือ อะไร ? | วิธีลดคลอเรสเตอรอล – Sonduongpaper
คอเลสเตอรอล มีหน้าที่และความสําคัญอย่างไร ?
คอเลสเตอรอลมีความสำคัญต่อร่างกาย เพราะ คอเลสเตอรอลเป็นสารลักษณะเหมือนขี้ผึ้ง ( Waxy Substance ) แต่ละวันมนุษย์จะต้องใช้คอเลสเตอรอลในการดำรงชีวิต โดยคอเลสเตอรอลมีบทบาทและหน้าที่ดังต่อไปนี้
1. คอเลสเตอรอลเป็นองค์ประกอบของเยื่อผนังห่อเซลล์ทุกเซลล์ทั่งร่างกาย ( ซึ่งมีประมาณ 100 ล้านล้านเซลล์) เพื่อสร้างคุณสมบัติความเลื่อนไหลไปมา ( Fluidity ) ทำให้เกิดความสะดวกต่อการผ่านเข้า – ออกเซลล์ ของสารอาหาร วิตามินและแร่ธาตุต่างๆ เป็นต้น
2. คอเลสเตอรอลเป็นวัตถุดิบให้ร่างกายผลิตน้ำดี ( Bile ) เนื่องจากน้ำดีเป็นสิ่งที่ร่างกายจะต้องใช้ในการย่อยอาหารประเภทไขมัน รวมถึงช่วยในการดูดซึมวิตามินที่ละลายอยู่ในไขมัน เช่น วิตามินเอ วิตามินดี วิตามินอี และวิตามินเค เพื่อให้ร่างกายได้นำวิตามินเหล่านี้ไปใช้ประโยชน์ต่อไป
3. คอเลสเตอรอลเป็นสารเริ่มต้น ( Precursor ) หรือเป็นวัตถุดิบให้ร่างกายใช้สังเคราะห์วิตามินดี ขึ้นมาใช้เมื่อร่างกายได้รับแสงได้ โดยอาจจะเกิดจากความตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ได้ บริเวณใต้ผิวหนังของมนุษย์เราที่มี คอเลสเตอรอล จะมีกระบวนการที่จะทำให้แสงยูวีเหล่านี้กลับกลายมาเป็น วิตามินดี ซึ่งจะมีปะโยชน์ต่อร่างกายคือ
4. นำไปใช้ผลิตผลิตฮอร์โมนเพศในร่างกาย คอเลสเตอรอลซึ่งเป็นสารสเตอรอยด์ ( Steroid ) อยู่แล้วจึงถูกร่างกายนำไปใช้ผลิต สเตอรอยด์ฮอร์โมน ( Steroid Hormones ) และคอเลสเตอรอลยังเป็นองค์ประกอบอย่างหนึ่งที่เป็นแหล่งกำเนิดของฮอร์โมนในส่วนต่างๆของร่างกายรวมทั้งฮอร์โมนเพศด้วย เช่น
- Cortisol และ Aldosterone สำหรับต่อมอะดรินัส ( ต่อมหมวกไต ) ในการควบคุมอารมณ์ ควบคุมโซเดียม
- Testosterone ( ฮอร์โมนเพศชาย ) และ Estrogen ( ฮอร์โมนเพศหญิง ) ซึ่งเป็นฮอร์โมนเพศ ช่วยให้ร่างกายตื่นตัว มีความกระชุ่มกระชวย เพิ่มอารมณ์ทางเพศทั้งชายและหญิง ซึ่งหากผู้ใดมีการกินยาเพื่อลดคอเลสเตอรอลจะส่งผลให้ระดับฮอร์โมนต่างๆ เหล่านี้จะลดตามไปด้วย
5. คอเลสเตอรอลเป็นฉนวนปกป้องห่อหุ้มเส้นใยประสาท ( To Insulate Nerve Fibres ) คอเลสเตอรอลยังทำหน้าที่ปกป้องห่อหุ้มเส้นใยประสาท เพื่อให้การสื่อสารของเซลล์วิ่งไปตาม เส้นในประสาท ได้อย่างถูกต้อง ไม่ผิดเพี้ยนเพราะเส้นใยประสาททุกเส้นจะถูกห่อหุ้มด้วย ไมลีนซีธ ( Myelin Sheath ) ที่ผลิตด้วยคอเลสเตอรอล เสมือนเป็นฉนวนสายไฟฟ้านั่นเองซึ่งหากระบบนี้ทำงานผิดพลาดระบบประสาทในร่างกายก็อาจผิดเพี้ยนตามไปด้วย เช่น จมูกรับกลิ่นไม่ได้ มีอาการมือสั่น มีอาการเดินเซ มีอาการความจำเสื่อมเป็นต้นเราสามารถพบตัวอย่างนี้ได้จาก เนื้อมันสมองของมนุษย์ หรือ หมูที่จะเต็มไปด้วยคอเลสเตอรอลที่ทำหน้าที่นี้
คอเลสเตอรอล คือ สารชนิดหนึ่ง ที่มีลักษณะเป็นกึ่งของแข็งและกึ่งของเหลวสามารถพบได้ในเซลล์ทั่วไปของอวัยวะในร่างกาย
คอเลสเตอรอลมีหลักเกณฑ์ในการทำงานอย่างไร
สำหรับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิดรวมถึงมนุษย์ คอเลสเตอรอล เป็นสิ่งที่มีความจำเป็นต่อการดำรงชีวิต เพื่อใช้ในการทำหน้าที่ต่างๆในแต่ละวัน คอเลสเตอรอลมาจากการทานอาหารต่างๆเข้าไป หรือสามารถผลิตได้เองจากอวัยวะในร่างกาย เช่น ตับ ลำไส้เล็ก ต่อมอะดรินัล สมอง รวมถึง รกในครรภ์ของมารดาที่อุ้มท้อง ก็สามารถผลิตคอเลสเตอรอลสำหรับใช้สร้างฮอร์โมนเพศ Progesterone เพื่อรักษาทารกในครรภ์ไม่ให้แท้งก่อนกำหนดคลอด
มีตัวเลขโดยประมาณว่า จำนวนคอเลสเตอรอลที่ใช้หมุนเวียน ซึ่งเกิดขึ้นจากการผลิตเองของร่างกายเป็นหลัก รวมกับส่วนที่ได้จากบริโภคจากอาหาร ประมาณ 200 -300 มิลลิกรัม หรือคิดเป็น 30% จากจำนวนคอเลสเตอรอลทั้งหมดที่ร่างกายได้รับต่อวัน และนำไปหักลบด้วยจำนวนที่ใช้ไปในแต่ละวัน คือ จำนวนที่เหลือหมุนเวียนเท่ากับ 1,100 มิลลิกรัม
คอเลสเตอรอลถูกใช้อย่างไร?
จำนวนคอเลสเตอรอลที่จะถูกใช้งานไปแต่ละวัน จะมีหลักเกณฑ์การทำงาน ดังต่อไปนี้
1. ถูกใช้ในงานตามหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ
2. ถูกตับนำไปผลิตเป็นน้ำดี ( Bile ) คอเลสเตอรอลเป็นวัตถุดิบอย่างหนึ่งที่ตับจะนำไปผลิตเป็นน้ำดี และส่งออกไปยังลำไส้เล็ก เพื่อนำไปใช้ในการย่อยอาหารประเภทไขมัน หลังจากนั้นลำไส้เล็กจะทำการดูดซึมคอเลสเตอรอลเหล่านั้นที่อยู่ในรูปของน้ำดีกลับคืนมา ในปริมาณมากถึง 92-97 % เท่ากับว่ามีการใช้ คอเลสเตอรอล ใน กระบวนการนี้ไปเพียง 3-8 % เท่านั้น ส่วนอาหารในกลุ่มของใยอาหารหรือ Fiber เช่น ผักและผลไม้ต่างๆ ลำไส้เล็กจะไม่สามารถดูดซึมคอเลสเตอรอลกลับไปได้ เนื่องจากในใยอาหารจะทำการดูดซับคอเลสเตอรอลให้ออกไปพร้อมกับกากอาหาร ผ่านการขับถ่ายอุจจาระทำให้ค่าระดับคอเลสเตอรอลลดอย่างเป็นธรรมชาติที่สุด
คอเลสเตอรอล มีกี่ประเภท
1. อาหารที่ไม่มีค่าคอเลสเตอรอล ได้แก่ อาหารที่มาจากผักและผลไม้ต่างๆ เช่น มะพร้าว ส้ม องุ่น ผักคะน้า แครอท เป็นต้น หรืออาหารที่มาจาก น้ำมันที่สกัดจากพืชออกมา เช่น น้ำมันปาล์ม น้ำมันมะพร้าว น้ำมันถั่ว น้ำมันมะกอก ก็จะไม่มีค่าคอเลสเตอรอลเลย
2. อาหารที่มีค่าคอเลสเตอรอล ได้แก่ อาหารที่มาจากตัวสัตว์หรือกำเนิดมาจากสัตว์ก่อนที่มนุษย์จะนำมาบริโภค เช่น เนื้อสัตว์ต่างๆ น้ำมันจากเนื้อสัตว์ ไข่ นมวัว นมพร่องมันเนย เป็นต้นสิ่งเหล่านี้ล้วนมีจำนวนคอเลสเตอรอลปริมาณมากน้อยแตกต่างกันไป
เหตุผลที่ร่างกายมีคอเลสเตอรอลมากเกินความจำเป็น
หากในแต่ละวันเราเลือกทานอาหารเฉพาะประเภทที่ไม่มีคอเลสเตอรอลเลย เช่น อาหารที่ได้จากพืช ซึ่งตรงนี้จะไม่กระทบต่อร่างกายแต่อย่างใด เนื่องจากตามธรรมชาติปกติแล้วร่างกายจะผลิตคอเลสเตอรอลขึ้นมาใช้ได้เอง ซึ่งการผลิตขึ้นมานี้อาจจะไม่ได้ผลิตคอเลสเตอรอลเฉพาะปริมาณที่จำเป็นต้องใช้ในแต่ละวันเท่านั้น ร่างกายอาจจะผลิตออกมามากกว่านั้นได้ เนื่องจากไม่มีกลไกในการยับยั้ง มีเพียงแต่กลไกที่มีการดึงเอา 2 อะตอมของคาร์บอนในรูปอะซิเตต ที่เรียกว่า 2-Carbon Acetate จากอาหารทั่วไปมาสร้างคอเลสเตอรอลได้เสมอ โดยเงื่อนไขที่ร่างกายผลิตคอเลสเตอรอลขึ้นเองเกินความจำเป็นมักเกิดจากปัจจัย ดังนี้
1. กินอาหารในปริมาณที่มากเกินความจำเป็น หรือ การกินอาหารมากกว่าที่ร่างกายควรได้รับในแต่ละมื้อแต่ละวัน
2.อาหารที่กินเข้าไป เป็นอาหารที่มีปริมาณน้ำตาลมาก และเป็นอาหารที่มีไขมันอิ่มตัว ( Saturated Fat ) รวมทั้งเป็นไขมันทรานส์ ( Trans Fat ) และไขมันจากเนื้อสัตว์
3. เกิดจากความเครียดหรือความวิตกกังวล เนื่องจากจะไปทำให้ต่อมอะดรินัล สร้างฮอร์โมน บังคับให้ร่างกายผลิตคอเลสเตอรอลขึ้นมามากเกินความจำเป็นที่ร่างกายจะใช้งาน
บทบาทของ ไลโปโปรตีน กับคอเลสเตอรอล
โดยปกติแล้ว คอเลสเตอรอล ไม่สามารถเข้าสู่คอเลสเตอรอลในร่างกายได้เอง แต่จะอาศัยสารที่ชื่อว่า “ ไลโปโปรตีน ” เป็นตัวชักนำและพาคอเลสเตอรอลเข้าสู่กระแสเลือด ไลโปโปรตีนเปรียบเสมือนพาหนะขนส่ง ให้คอเลสเตอรอล
ไลโปโปรตีน ( Lipoprotein ) คือ สารประกอบของโปรตีน ผสมกับไขมัน หากชนิดใดมีอัตราส่วนไขมันมาก แต่โปรตีนน้อย ก็เรียกว่าเป็น ไลโปโปรตีนความหนาแน่นต่ำ นั่นคือ Low Density Lipoprotein เรียกย่อๆ ว่า LDL ซึ่งไลโปโปรตีน ที่สำคัญ และเรียงลำดับจากความหนาแน่นต่ำที่สุด ไปสู่ความหนาแน่นสูง 4 ตัว ได้แก่
1. Chylomicron
2. VLDL ย่อมาจาก Very Low Density Lipoprotein
3. LDL หากคอเลสเตอรอลเกาะ LDL จะเรียกว่า LDL- Cholesterol หรือ LDL– C จะมีบทบาทช่วยกันนำคอเลสเตอรอลจากตับออกไปแจกจ่ายให้กับทั่วร่างกาย LDL จึงถือว่าเป็น “ คอเลสเตอรอลชนิดร้าย ” ที่ไปเพิ่มค่าคอเลสเตอรอลในร่างกายให้สูงขึ้น
4. HDL หากคอเลสเตอรอลเกาะ HDL จะถูกเรียกว่า HDL-C ซึ่งจะมีบทบาทตรงกันข้ามกับ LDL- C กล่าวคือ HDL จะทำหน้าที่ในการไล่จับคอเลสเตอรอลทั่วร่างกาย กลับส่งคืนไปให้ตับทำลาย โดยจะผลิตเป็นน้ำดีออกมาแทนเพราะฉะนั้น HDL จึงถือว่าเป็น “ คอเลสเตอรอลชนิดดี ” ที่จะช่วยให้คอเลสเตอรอลทั่วร่างกาย มีค่าลดน้อยลง หาก HDL เพิ่มขึ้นมากเท่าใด ค่าคอเลสเตอรอลรวม จะลดลงได้มากเท่านั้น
การตรวจวัดปริมาณของคอเลสเตอรอล
การตรวจวัดปริมาณของ คอเลสเตอรอล หมายถึง เป็นค่าที่ใช้วัดระดับคอเลสเตอรอลรวม ซึ่งมีทั้งคอเลสเตอรอล ชนิดดีและคอเลสเตอรอลชนิดไม่ดีปนกันอยู่ ซึ่งในการตรวจสอบจะมีค่าปกติของคอเลสเตอรอลดังนี้
ค่าปกติของคอเลสเตอรอล
ผู้ใหญ่/ผู้สูงอายุ ปริมาณที่เหมาะสมต้องไม่เกิน 200 mg / dL
เด็ก ปริมาณที่เหมาะสมต้องอยู่ระหว่าง 120 – 200 mg / dL
ค่าปกติของคอเลสเตอรอล
1. ค่าคอเลสเตอรอลต่ำกว่าปกติ หมายถึง กรณีที่วัดค่าคอเลสเตอรอลได้ต่ำกว่าค่าปกติ ซึ่งสภาวะแบบนี้เกิดขึ้นได้ไม่บ่อยนัก ซึ่งอาจมีสาเหตุเกิดจาก
- เกิดสภาวะทุโภชนา ( Malnutrition ) คือ ภาวะที่เกิดขึ้นจากการรับประทานอาหารไม่สมดุลกัน โดยอาจมีสารอาหารบางอย่างได้รับไม่เพียงพอ น้อยหรืออาจจะมากเกินไป
- อาจมีเซลล์ตับตายเฉพาะส่วน ( Cellular Necrosis Of The Liver )
- อาจเกิดจากสภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานผิดปกติ ( Hyperthyroidism )
2. ค่าคอเลสเตอรอลสูงกว่าปกติ หมายถึง กรณีที่วัดค่า คอเลสเตอรอล ได้สูงกว่าค่าปกติ เรียกสภาวะนี้ว่า Hypercholesterolemia ซึ่งสภาวะนี้จะเป็นอันตรายต่อร่างกาย เนื่องจากทำให้เกิดความเสี่ยง ในการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจได้หากไม่รีบรักษาให้ค่าลดลงเป็นปกติโดยค่าคอเลสเตอรอลสูงกว่าปกติ อาจเกิดจาก
- อาจกำลังเกิดโรคตับอักเสบ ( Hepatitis )
- อาจกำลังเกิดปัญหาท่อในถุงน้ำดีอุดตัน
- อาจเกิดสภาวะโรคไต ( Nephrotic Syndrome )
- อาจเกิดโรคตับอ่อนอักเสบ จึงอาจผลิเอนไซม์ย่อยอาหารไขมันและโปรตีนไม่ได้
- อาจเกิดสภาวะดีซ่าน ในถุงน้ำดีเกิดการอุดตันขึ้น ( Obstructivejaundice ) ทำให้ตับไม่สามารถขับเซลล์เม็ดเลือดแดงที่ตายแล้ว ออกทางท่อถุงน้ำดีได้ จึงทำให้ค่า Bilirubin ในเลือดสูงขึ้น มีผลทำให้เกิดอาการตัวเหลือง ตาเหลือง
ข้อแนะนำเพิ่มในการตรวจระดับคอเลสเตอรอล
1. การตรวจหาค่า Total Cholesterol เพียงค่าเดียว ไม่สามารถอธิบายสุขภาพโดยรวมว่าดีหรือไม่อย่างไร แต่จะต้องใช้ค่าอื่นๆประกอบร่วมด้วยเสมอ
2. หากจะเจาะเลือกเพื่อตรวจระดับของ คอเลสเตอรอล ควรทำการตรวจค่าอื่นๆไปด้วยเลย หรือตรวจให้ครบ Lipid Profile เช่น HDL , LDL และ Triglyceride ในทุกครั้งที่ทำการตรวจ
อัตราส่วนของคอเลสเตอรอลที่เหมาะสมในร่างกาย สามารถคำนวณหาได้ ดังนี้
ระดับคอเลสเตอรอล ÷ ระดับ HDL
หรือ ไขมันดี High-Density Lipoprotein Cholesterol ( HDL-C )
ต้องได้ค่าน้อยกว่า 4 เช่น ระดับคอเลสเตอรอล วัดได้ 300 ระดับ HDL วัดได้ 90
จะได้ 300 ÷ 90 = 3.33
ค่าคอเลสเตอรอลเท่ากับ 3 ซึ่งน้อยกว่า 4 อยู่ในระดับดีปานกลาง
หมายเหตุ :
ระดับคอเลสเตอรอล 1 = ดีมาก
ระดับคอเลสเตอรอล 2 = ดี
ระดับคอเลสเตอรอล 3 = ดีปานกลาง
ระดับคอเลสเตอรอล 4 = พอใช้
ระดับคอเลสเตอรอล มากกว่า 4 ขึ้นไป = แย่
หากค่าคอเลสเตอรอลมากกว่าระดับ 4 ต้องเพิ่มระดับคอเลสตอลรอล ด้วยการทานไขมันดี ซึ่งมีอยู่ในน้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น
ดังนั้นเกณฑ์ปกติของระดับคอเลสเตอรอลในเลือด คือ
ระดับคอเลสเตอรอลรวม ( Total cholesterol ) น้อยกว่า 200 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
ระดับ LDL น้อยกว่า 130 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
ระดับ HDL มากกว่า 40 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
หากไม่ได้ศึกษาข้อมูลคอเลสเตอรอลมาก่อน หลายคนก็ยังคงมีความเข้าใจที่ผิดๆต่อไปเกี่ยวกับคอเลสเตอรอล ที่มักมองว่า คอเลสเตอรอล คือ ไขมัน เป็นสิ่งเลวร้ายและอันตรายต่อร่างกาย แต่ในความเป็นจริงแล้ว จะเห็นได้ว่า คอเลสเตอรอล มีทั้งข้อดีที่เป็นประโยชน์และข้อเสียที่เป็นโทษต่อร่างกาย ซึ่งตัวเราเองควรรู้จักควบคุมปริมาณคอเลสเตอรอลในร่างกายตนเองให้อยู่ในปริมาณที่เหมาะสม ไม่ให้มากหรือน้อยเกินไป โดยเฉพาะเรื่องการทานอาหาร ซึ่งเป็นปัจจัยหลักที่ทำให้ใครหลายคนมีระดับของคอเลสเตอรอลที่สูงเกินค่ามาตรฐาน ซึ่งทำให้มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ เช่น โรคเกี่ยวกับหลอดเลือดหัวใจ และอีกหลายๆโรคที่ไม่เป็นผลดีต่อร่างกายเลย ดังนั้น จึงควรปรับพฤติกรรมการกินของตนเอง ก่อนที่จะเกิดภาวะ คอเลสเตอรอลสูงกว่ามาตรฐาน เพื่อสุขภาพและความปลอดภัยของตัวเราเอง
อ่านบทความที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมตามลิ้งค์ด้านล่าง
ไข่🥚📍 กินได้ทุกวัน สุขภาพดีขึ้น อย่างน่าอัศจรรย์✨ : นพ.บุญชัย อิศราพิสิษฐ์ | BEANHEALTHY
ไข่ กินได้ทุกวัน สุขภาพดีขึ้น อย่างน่าอัศจรรย์✨
นายแพทย์บุญชัย อิศราพิสิษฐ์ | BEANHEALTHY
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
โทร. 0956400461, 0619935579, 0919900355
Line: @wellnessatresort
FB: เวลเนส แอทรีสอร์ท
www.wellnesscitygroup.com
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
ลดไขมันในเลือดต้องทาน 5 อย่างนี้ | EP201
ลดไขมันในเลือดต้องทาน 5 อย่างนี้ | EP201
สำหรับเรื่องคอเลสเตอรอลไขมันสูงเป็นเรื่องที่คนไทยหรือคนทั่วโลกเป็นกันเยอะมากและเป็นสาเหตุทำให้เราเป็นโรคหัวใจขาดเลือด โรคเส้นเลือดในสมองตีบ เพราะฉะนั้นเราควรป้องกันไว้ก่อน โดยอาหาร 5 อย่างนี้ จะสามารถลดไขมันในเลือดของท่านจะมีอะไรบ้างหาคำตอบไปพร้อมกันครับ กับ ลดไขมันในเลือดต้องทาน 5 อย่างนี้
ลดไขมันในเลือด ต้องทาน 5อย่างนี้
อย่าลืมแชร์ให้เพื่อนๆนะครับ😉
ลดไขมัน,ลดความอ้วน,ไขมันในเลือด,สุขภาพดี,เพื่อสุขภาพ,หมอท๊อป,ระบบเผาผลาญ,ไขมัน,ลดพุง,ลดหน้าท้อง,ลดพุง พุงยุบใน 1 อาทิตย์ผู้หญิง,ลดพุง 1 เดือน,ลดพุง 14 วัน,ลดพุง ลดต้นขา,ลดพุง ลดเอว,ลดพุง 7 วัน,วิธีลดพุงเร่งด่วน ผู้หญิง,ลดพุง ลดขา,ลดพุง ยังไง,ลดพุง อาหาร,ลดพุง ง่ายๆ,ลดพุง นอน,ลดน้ําหนักเร่งด่วน 2 อาทิตย์,ลดน้ําหนัก 1 อาทิตย์ 10 โล,ลดไขมัน 14 วัน,ลดน้ําหนัก 14 วัน,ลดไขมัน 1 เดือน,ลดน้ําหนัก 7 วัน,ลดไขมัน 30 วัน,ลดความอ้วน 1 เดือน,ลดน้ําหนัก 10 กิโล,
ลดพุง คีโต หมอท๊อป
วิธีเผาผลาญไขมันให้มากขึ้นขณะนอนหลับ
จะลดน้ำหนักขณะนอนหลับได้ยังไง เราทุกคนต่างก็เห็นด้วยว่าการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอเป็นวิธีที่ดีที่สุดในการลดน้ำหนักและรักษาสุขภาพให้แข็งแรง แต่เราออกกำลังกายทุกวันไหม ไม่ เรานอนหลับทุกวันไหม ใช่ เพราะงั้นวิธีที่ดีกว่าในการลดน้ำหนักในขณะที่เรานอนหลับคืออะไรกันล่ะ
สิ่งแรกที่คุณต้องทำคือเพิ่มการเผาผลาญของคุณ การศึกษาทางวิทยาศาสตร์แสดงให้เห็นว่าน้ำเย็นบังคับให้ร่างกายของคุณเผาผลาญแคลอรี่ได้มากขึ้นเนื่องจากมันจะต้องทำให้ร่างกายร้อนขึ้นเพื่อให้น้ำอุ่นขึ้นในท้อง แนวคิดเดียวกันนี้ใช้ได้กับน้ำที่คุณแช่อ่างเช่นกัน แล้วก็ เคล็ดลับเหล่านี้จะช่วยให้คุณเผาผลาญแคลอรี่ขณะนอนหลับ แต่แค่การนอน 8 ชั่วโมงก็เผาผลาญแคลอรี่ได้ถึง 300 แคลอรี่อยู่แล้ว!
TIMESTAMPS:
เพิ่มการเผาผลาญของคุณ 0:28
ดื่มน้ำเยอะ ๆ 1:04
อาบน้ำเย็น 1:28
นอนหลับ 2:08
ลดอุณหภูมิห้อง 2:52
ดื่มกาแฟตอนเช้าซะหน่อย 3:22
ไม่ต้องเปลี่ยนสูตรอาหารแต่เปลี่ยนน้ำมันที่ใช้ 3:55
เติมความจัดจ้านให้มื้ออาหารของคุณ 4:26
ปรุงรสด้วยน้ำส้มสายชูหมักจากแอปเปิ้ล 4:57
กินคาร์โบไฮเดรต 5:25
กินโปรตีนพวกนั้นซะ 5:58
ออกกำลังกายบ้าง 6:27
ออกกำลังกายอย่างเข้มข้น 6:57
เพิ่มไฟเบอร์ในอาหารของคุณ 7:38
อย่าอดอาหาร 8:07
NIH Clinical Center Aerial: By National Cancer Institute, Public Domain https://creativecommons.org/publicdomain/mark/1.0, https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=24063310
อนิเมชั่นจัดทำโดยชีวิตสดใส
ลดความอ้วน ลดน้ำหนัก ชีวิตสดใส
กดติดตามช่องชีวิตสดใส https://bit.ly/3dDWYg2
เพลงของ Epidemic Sound https://www.epidemicsound.com/
ของในสต๊อก (รูปภาพ, วิดีโอ และอื่นๆ):
https://www.depositphotos.com
https://www.shutterstock.com
https://www.eastnews.ru
ลดคอเลสเตอรอล 2ล้านคน(ผลวิจัยญี่ปุ่น)ใหม่!!
https://youtu.be/50xzlDPYL0 https://youtu.be/50xzlDPYL0 If you’re searching for https://youtu.be/50xzlDPYL0 then watch this video to learn everything you need to know about https://youtu.be/50xzlDPYL0
อาหาร 5 ชนิด ช่วยลดคอเลสเตอรอลในเลือด ที่ทุกคนควรทาน | หมอหมีมีคำตอบ
อาหาร 5 ชนิด ช่วยลดคอเลสเตอรอลในเลือด ที่ทุกคนควรทาน
โรคคอเลสเตรอลสูง หรือไขมันโลหิตสูง เป็นโรคที่พบได้บ่อยมากขึ้นในปัจจุบัน คอเลสเตอรอลในเลือดสูงจะส่งผลต่อเส้นเลือดทำให้ตีบมากขึ้น จนเกิดโรคหัวใจขาดเลือด และโรคเส้นเลือดในสมองตีบ แตกได้ ดังนั้นการปรับพฤติกรรมการรับประทานอาหาร และการออกกำลังกายจึงสำคัญมากๆที่จะช่วยให้สามารถลดคอเลสเตอรอล หรือไขมันในเลือดได้
สำหรับใครหลายๆคนตอนนี้ที่เป็นโรคไขมันสูง หรือ คอเลสเตรอลในเลือดสูง คลิปนี้หมอหมีจะมาแนะนำ อาหาร 5 ชนิด ที่จะช่วยคุณลดคอเลสเตอรอลในเส้นเลือด ซึ่งมีดังนี้
1. เนื้อปลา
2. ผักบุ้ง
3. กระเทียมสด
4. มะเขือเทศ
5. นมพร่องมันเนย
ถูกใจคลิปนี้ อย่าลืม กดLike กดแชร์ กดSubscribe กดกระดิ่ง ติดตามช่อง \”หมอหมีเม้าท์มอย\” กันด้วยนะครับ
ติดตามผลงาน \”หมอหมีเม้าท์มอย\” ได้ที่
Youtube : http://www.youtube.com/c/หมอหมีเม้าท์มอย
Facebook : https://www.facebook.com/MhomheeTalks/
IG : MhoMheeTalk
หมอหมีเม้าท์มอย หมอหมีมีคำตอบ อาหารลดคอเลสเตอรอล คอเลสเตอรอล @หมอหมี เม้าท์มอย
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Wiki
ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ วิธีลดคลอเรสเตอรอล