รักษา อาการ อาหาร เป็น พิษ: คุณกำลังดูกระทู้
- Goldfrank LR, Flomenbaum NE, Weisman RS. Botulism. In: Goldfrank LR, Flomenbaum NE, Lewin NA, et al (eds). Goldfrank’s Toxicologic Emergencies. 5th ed. Connecticut: Appleton&Lasge, 1994:937-948.
- Ellenhorn MJ, Schonwald S, Orgog G, et al. Food Poisonings. In: Ellenhorn’s Medical Toxicology: Diagnosis and Treatment of Human Poisoning. 2nd ed. Baltimore: Williams & Wilkins, 1997:1054-7.
- Slovis CM. Food Poisoning. In: Haddad LM, Winchester JF (eds). Clinical Management of Poisoning and Drug Overdose. 2 nd ed. Philadephia: W.B. Saunders Company, 1990:612-9.
- Shneerson JM. Botulism: a potentially common problem. Thorax 1989;44:901-2.
- Dimiteu D. Electrodiagnostic Medicine. Mosby: Philadephia, 1995.
- Lond BM. Food-borne illness. Lancet 1990;336:982-6.
- Critchley ER, Michel JD. Human botulism. Br J Hosp Med 1990;93:290-2.
[NEW] คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล | รักษา อาการ อาหาร เป็น พิษ – Sonduongpaper
เอกสารอ้างอิง
- สมิง เก่าเจริญ. การวินิจฉัยและรักษาผู้ป่วยสารพิษ. แพทยสภาสาร 2528; 14: 49-58.
- Done AK. Solving the poison puzzle. Emerg Med 1979; 11: 243-62.
- Glasser L, Sternglanz PD, Combie J, et al. Serum osmolality and its applicability to drug overdose. Am J Clin Pathol 1973; 60: 695-699.
- Gold Frank L, Starke CL. Metabolic acidosis in the alcoholics. Hosp Physician 1979; 4: 34-8.
- Handy CA. Radiopacity of oral nonliquid medications. Diag Radiol 1971; 98: 525-33.
- Henry J, Volans G. ABC of poisoning : diagnosis. Br Med J 1984; 289: 172-4.
- Mandy S, Ackerman AB. Characteristic traumatic skin lesions in drug-induced coma. JAMA 1970; 213: 253-6.
ความสำคัญของอาหารกับผู้ป่วยรักษามะเร็ง
การรับประทานอาหารในผู้ป่วยรักษามะเร็ง เป็นปัจจัยหนึ่งที่สำคัญในขั้นตอนการรักษา เพราะการรับประทานอาหารที่ครบถ้วนถูกต้องในระหว่างการรักษาและหลังการรักษา จะช่วยให้ร่างกายแข็งแรง มีภูมิคุ้มกัน ทำให้ร่างกายต่อสู้กับการติดเชื้อต่างๆ ได้ดี
อาหารสำหรับผู้ป่วยมะเร็ง อาหารรักษามะเร็ง ศูนย์มะเร็งSiPH
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่
อาหารเป็นพิษ วิธีแก้อาหารเป็นพิษ
วิธีแก้อาหารเป็นพิษเบื้องต้นด้วยตัวคุณเอง
อาหารเป็นพิษส่วนใหญ่ไม่ก่อให้เกิดอาการรุนแรงมากนักและมักหายไปได้เองภายใน 1 สัปดาห์
โดยไม่ต้องเข้ารับการรักษา โดยในระหว่างนี้ เราสามารถรับประทานยาที่หาซื้อได้เอง
ควบคู่ไปกับการดูแลตนเองที่บ้าน เพื่อช่วยบรรเทาอาการให้หายดีขึ้นได้
แต่หากผู้ป่วยมีอาการรุนแรง ควรไปพบแพทย์เพื่อรักษาอย่างถูกต้อง
วิธีแก้อาหารเป็นพิษ
ผู้ป่วยอาหารเป็นพิษแต่ละรายจะมีลักษณะอาการที่แตกต่างกันไป
แต่โดยส่วนใหญ่มักมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสียเป็นน้ำหรือท้องเสียปนเลือด
ร่วมทั้งอาจมีอาการอื่น ๆ ร่วมด้วย เช่น ปวดท้อง ปวดเกร็งหน้าท้อง
เบื่ออาหาร อ่อนแรง ปวดศีรษะ มีไข้ เป็นต้น ซึ่งอาการเหล่านี้
อาจปรากฏขึ้นไม่กี่ชั่วโมงหรือภายใน 1 วันหลังรับประทานอาหารหรือน้ำที่ปนเปื้อนเชื้อโรค
แต่บางคนก็อาจทิ้งช่วงนานเป็นสัปดาห์
แม้อาการจากอาหารเป็นพิษจะดีขึ้นได้เองภายใน 23 วัน
แต่การดูแลตัวเองควบคู่ไปด้วยก็เป็นอีกทางที่อาจช่วยให้คุณรู้สึกดีได้เร็วขึ้น
และยังปลอดภัยจากภาวะขาดน้ำที่อาจเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตได้
โดยสามารถปฏิบัติตามคำแนะนำดังนี้
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารในช่วง 23 ชั่วโมงแรกหลังมีอาการเกิดขึ้น
พักผ่อนให้เพียงพอร่วมกับการดื่มน้ำ น้ำซุป หรือเครื่องดื่มเกลือแร่
เพื่อชดเชยการสูญเสียน้ำและเกลือแร่ หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มบางชนิด
เช่น ผลิตภัณฑ์จากนม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์หรือคาเฟอีน น้ำอัดลมหรือเครื่องดื่มที่มีฟอง
รวมถึงงดรับประทานอาหารรสจัดหรือของทอด
หากผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นแล้วควรรับประทานอาหารอ่อนที่ย่อยได้ง่ายและมีไขมันน้อย
เช่น โจ๊ก ข้าวต้ม กล้วย ขนมปังปิ้ง แครกเกอร์ เป็นต้น
นอกจากนี้ ผู้ป่วยยังอาจแก้อาการอาหารเป็นพิษเบื้องต้นได้ด้วยการรับประทานยาสามัญ
ประจำบ้านที่มีราคาย่อมเยาและหาซื้อได้ตามร้านขายยาทั่วไป
ทั้งนี้ ผู้ป่วยควรอ่านฉลากยาให้ละเอียดและปฏิบัติตามคำแนะนำบนฉลากอย่างเคร่งครัด
หากมีข้อสงสัยควรปรึกษาเภสัชกรก่อนใช้ยา
อย่างไรก็ตาม หากวิธีแก้อาหารเป็นพิษข้างต้นใช้ไม่ได้ผล
อาการป่วยยังคงอยู่หรือมีอาการอื่น ๆ เกิดขึ้น
ไม่ว่าจะอาเจียนต่อเนื่องหรืออาเจียนเป็นเลือด ควบคุมการถ่ายไม่ได้
อุจจาระปนเลือด ท้องเสียมากกว่า 3 วัน ปวดเกร็งหน้าท้องอย่างรุนแรง
มีไข้สูงกว่า 38 องศาเซลเซียส อ่อนแรง มองเห็นหรือพูดคุยได้ลำบาก
มีสัญญาณของภาวะขาดน้ำอย่างปากแห้ง อ่อนเพลีย
ปัสสาวะเพียงเล็กน้อย หรือไม่ปัสสาวะเลย ควรรีบไปพบแพทย์
เพื่อรับการตรวจวินิจฉัยและรับการรักษาที่ตรงจุด
เพราะผู้ที่มีอาการรุนแรงหรือมีอาการจากแบคทีเรียบางชนิด
อาจจำเป็นต้องรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ จึงจะหายเป็นปกติ
….
สินค้ายอดนิยม…
กรดไหลย้อน
https://refluxacids.com/
เบาหวาน
https://bit.ly/2YslDhO
ภูมิแพ้
https://bit.ly/3fQIeL1
ต่อมลูกหมาก
https://bit.ly/3hTYOLM
ไขมันเส้นเลือดการนอนหลับ
https://bit.ly/2VevBBy
ปวดกล้ามเนื้อข้อ
https://bit.ly/2Z4y2rt
Health Check ตอนที่ 30 อาหารเป็นพิษ
Health Check ตอนที่ 30 อาหารเป็นพิษ ออกอากาศ 23 ตุลาคม 2558
เวลา 13.2513.30 น. ทางช่อง one (ดิจิตอลทีวีหมายเลขช่อง 31 / ดาวเทียมหมายเลขช่อง 41)
55. สมุนไพร นุ่น อาหารเป็นพิษ ปวดท้อง ท้องเสีย อาเจียร พร้อมกันเลยทำอย่างไร….
เปลือกนุ่น 34 ชิ้นต้มกับน้ำประมาณ 2 แก้วต้มให้เหลือครึ่งหนึ่งแล้วนำมาดื่มกืนแก้อาหารเป็นพิษ
อาหารเป็นพิษ จะทำอย่างไร
หากท่านประสบปัญหาหลังไปเที่ยว กินเลี้ยง เกิดอาหารเป็นพิษ
สาเหตุ
อาหารไม่สุก
เขื้อโรคที่ปนเปื้อนมากับอาหาร
สารพิษหรือสารอินทรีย์จากตัวอาหาร เช่นเห็ด ผัก ผลไม้บางชนิด ปู ปลา กุ้ง หอย จากการแช่แข็ง
อาการ
เริ่มตั้งแต่หลังทานอาหาร 10 นาที 2 วัน
ถ่ายเหลว
ปวดท้อง
คลี่นไส้อาเจียน
อาเจียน
อาจเรื่มจากมีน้ำลายมาก พะอืด พะอม
เหนื่อยเพลีย
การรักษา
ดื่มผงเกลือแร่ ORS
สูครทำเกลือแร่ดื่มเอง น้ำต้มสุกที่อุ่นหรือเย็นแล้ว 750 ซีซี (1 ขวดน้ำปลา) + เกลือแกง 1 ช้อนชา + น้ำตาลทราย 2 ช้อนโต๊ะ เขย่าให้เข้ากันดื่มแทนน้ำ
การป้องกัน
ทานอาหารปรุงสุกใหม่ร้อนๆ
ล้างมือก่อนทานอาหาร และทุกครั้งหลังการขับถ่าย
ล้างผักสด ผลไม้ด่วยน้ำปริมาณมากๆหรือเปิดน้ำล้าง (สะอาดกว่าน้ำนิ่ง)
ไม่กินอาการสุๆดิบๆ
ไม่กินอาหารค้างคืน
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Wiki
ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ รักษา อาการ อาหาร เป็น พิษ