อานาปานสติ คือ: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้
�������จตุกกะที่ 1 : กายานุปัสสนา
�������1) ทีฆํ วา อสฺสสนฺโต ‘ทีฆํ อสฺสสามี’ติ ปชานาติ, ทีฆํ วา ปสฺสสนฺโต ‘ทีฆํ ปสฺสสามี’ติ ปชานาติ; �������2) รสฺสํ วา อสฺสสนฺโต ‘รสฺสํ อสฺสสามี’ติ ปชานาติ, รสฺสํ วา ปสฺสสนฺโต ‘รสฺสํ ปสฺสสามี’ติ ปชานาติ; �������3) ‘สพฺพกายปฏิสํเวที อสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ, ‘สพฺพกายปฏิสํเวที ปสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ; �������4) ‘ปสฺสมฺภยํ กายสงฺขารํ อสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ, ‘ปสฺสมฺภยํ กายสงฺขารํ ปสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ.
�������1) เมื่อหายใจเข้ายาว เธอก็รู้ชัดว่า เราหายใจเข้ายาว หรือเมื่อหายใจออกยาว เธอก็รู้ชัดว่า เราหายใจออกยาว �������2) เมื่อหายใจเข้าสั้น เธอก็รู้ชัดว่า เราหายใจเข้าสั้น หรือเมื่อหายใจออกสั้น เธอก็รู้ชัดว่า เราหายใจออกสั้น �������3) เธอสำเหนียกว่า เราจักรู้ทั่วกาย(กองลม)ทั้งหมด หายใจเข้า เธอสำเหนียกว่า เราจักรู้ทั่วกาย(กองลม)ทั้งหมด หายใจออก�������4) เธอสำเหนียกว่า เราจักผ่อนระงับกายสังขาร หายใจเข้า เธอสำเหนียกว่า เราจักผ่อนระงับกายสังขาร หายใจออก
�������1. Breathing in long, he knows: “I am breathing in long”, or breathing out long, he knows: “I am breathing out long”, �������2. Breathing in short, he knows: “I am breathing in short”: or breathing out short, he knows: “I am breathing out short”; �������3. He trains thus: “Experiencing the entire (breath-) body, I shall breathe in”, He trains thus: “Experiencing the entire (breath-) body, I shall breathe out”; �������4. He trains thus: “Calming the bodily formation, I shall breathe in”, He trains thus: “Calming the bodily formation, I shall breathe out”.
�������จตุกกะที่ 2 : เวทนานุปัสสนา
�������5) ‘ปีติปฏิสํเวที อสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ, ‘ปีติปฏิสํเวที ปสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ; �������6) ‘สุขปฏิสํเวที อสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ, ‘สุขปฏิสํเวที ปสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ; �������7) ‘จิตฺตสงฺขารปฏิสํเวที อสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ, ‘จิตฺตสงฺขารปฏิสํเวที ปสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ; �������8) ‘ปสฺสมฺภยํ จิตฺตสงฺขาร อสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ, ‘ปสฺสมฺภยํ จิตฺตสงฺขาร ปสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ.
�������5) เธอสำเหนียกว่า เราจักเสวยรู้ปีติ หายใจเข้า เธอสำเหนียกว่า เราจักเสวยรู้ปีติ หายใจออก �������6) เธอสำเหนียกว่า เราจักเสวยรู้ความสุข หายใจเข้า เธอสำเหนียกว่า เราจักเสวยรู้ความสุข หายใจออก �������7) เธอสำเหนียกว่า เราจักเสวยรู้จิตตสังขาร หายใจเข้า เธอสำเหนียกว่า เราจักเสวยรู้จิตตสังขาร หายใจออก �������8) เธอสำเหนียกว่า เราจักผ่อนระงับจิตตสังขาร หายใจเข้า เธอสำเหนียกว่า เราจักผ่อนระงับจิตตสังขาร หายใจออก
�������5. He trains thus: “Experiencing rapture, I shall breathe in”, He trains thus: “Experiencing rapture, I shall breathe out”; �������6. He trains thus: “Experiencing joy, I shall breathe in”, He trains thus: “Experiencing joy, I shall breathe out”; �������7. He trains thus: “Experiencing the mental formation, I shall breathe in”, He trains thus: “Experiencing the mental formation, I shall breathe out”; �������8. He trains thus: “Calming the mental formation, I shall breathe in”, He trains thus: “Calming the mental formation, I shall breathe out”;
�������จตุกกะที่ 3 : จิตตานุปัสสนา
�������9) ‘จิตฺตปฏิสํเวที อสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ, ‘จิตฺตปฏิสํเวที ปสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ; �������10) ‘อภิปฺปโมทย์ จิตฺตํ อสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ, ‘อภิปฺปโมทย์ จิตฺตํ ปสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ; �������11) ‘สมาทหํ จิตฺตํ อสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ, ‘สมาทหํ จิตฺตํ ปสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ; �������12) ‘วิโมจยํ จิตฺตํ อสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ, ‘วิโมจยํ จิตฺตํ ปสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ.
�������9) เธอสำเหนียกว่า เราจักรู้ทั่วถึงจิต หายใจเข้า เธอสำเหนียกว่า เราจักรู้ทั่วถึงจิต หายใจออก �������10) เธอสำเหนียกว่า เราจักทำจิตให้ร่าเริง หายใจเข้า เธอสำเหนียกว่า เราจักทำจิตให้ร่าเริง หายใจออก �������11) เธอสำเหนียกว่า เราจักทำจิตให้ตั้งมั่น หายใจเข้า เธอสำเหนียกว่า เราจักทำจิตให้ตั้งมั่น หายใจออก �������12) เธอสำเหนียกว่า เราจักปล่อยเปลื้องจิต หายใจเข้า เธอสำเหนียกว่า เราจักปล่อยเปลื้องจิต หายใจออก
�������9. He trains thus: “Experiencing the mind, I shall breathe in”, He trains thus: “Experiencing the mind, I shall breathe out”; �������10. He trains thus: “Gladdening the mind, I shall breathe in”, He trains thus: “Gladdening the mind, I shall breathe out”; �������11. He trains thus: “Concentrating the mind, I shall breathe in”, He trains thus: “Concentrating the mind, I shall breathe out”; �������12. He trains thus: “Liberating the mind, I shall breathe in”, He trains thus: “Liberating the mind, I shall breathe out”.
�������จตุกกะที่ 4 : ธัมมานุปัสสนา
�������13) ‘อนิจฺจานุปสฺสี อสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ, ‘อนิจฺจานุปสฺสี ปสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ; �������14) ‘วิราคานุปสฺสี อสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ, ‘วิราคานุปสฺสี ปสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ; �������15) ‘นิโรธานุปสฺสี อสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ, ‘นิโรธานุปสฺสี ปสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ; �������16) ‘ปฏินิสฺสคฺคานุปสฺสี อสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ, ‘ปฏินิสฺสคฺคานุปสฺสี ปสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ.
�������13) เธอสำเหนียกว่า เราจักพิจารณาเห็นความไม่เที่ยง หายใจเข้า เธอสำเหนียกว่า เราจักพิจารณาเห็นความไม่เที่ยง หายใจออก �������14) เธอสำเหนียกว่า เราจักพิจารณาเห็นความคลายออกได้ หายใจเข้า เธอสำเหนียกว่า เราจักพิจารณาเห็นความคลายออกได้ หายใจออก �������15) เธอสำเหนียกว่า เราจักพิจารณาเห็นความดับกิเลส หายใจเข้า เธอสำเหนียกว่า เราจักพิจารณาเห็นความดับกิเลส หายใจออก �������16) เธอสำเหนียกว่า เราจักพิจารณาเห็นความสลัดคืนได้ หายใจเข้า เธอสำเหนียกว่า เราจักพิจารณาเห็นความสลัดคืนได้ หายใจออก
�������13. He trains thus: “Contemplating impermanence, I shall breathe in”, He trains thus: “Contemplating impermanence, I shall breathe out”; �������14. He trains thus: “Contemplating fading away, I shall breathe in”, He trains thus: “Contemplating fading away, I shall breathe out”; �������15. He trains thus: “Contemplating cessation, I shall breathe in”, He trains thus: “Contemplating cessation, I shall breathe out”; �������16. He trains thus: “Contemplating relinquishment, I shall breathe in”, He trains thus: “Contemplating relinquishment, I shall breathe out”.
�������ข้อควรทราบ :
�������ก) คำว่า หายใจเข้า และหายใจออก นั้นพึงทราบว่า เป็นคำที่มีการแปลต่างกัน คือ อรรถกถาแห่งพระวินัยแปล อสฺสาส ว่า “หายใจออก” และ ปสฺสาส ว่า “หายใจเข้า” ส่วนอรรถกถาแห่งพระสูตรแปลกลับตรงข้าม คือแปล อสฺสาส ว่า “หายใจเข้า” และ ปสฺสาส ว่า “หายใจออก” ในที่นี้ถือตามคำแปลของอรรถกถาแห่งพระสูตร ผู้ศึกษาทราบอย่างนี้แล้ว จะใช้แบบใดก็ได้ พึงเลือกตามปรารถนา
�������ข) “สำเหนียกว่า” เป็นคำแปลตามสำนวนเก่า หมายถึงคำบาลีว่า สิกฺขติ จะแปลแบบทับศัพท์เป็น “ศึกษาว่า” ก็ได้
�������ค) ธรรมหมวดนี้ เรียกตามบาลีแห่งคัมภีร์ปฏิสัมภิมัคค์ว่า โสฬสวัตถุกอานาปานสติ (เช่น ขุ.ปฏิ. 31/362/244: 387/260= Ps.I.162;173 คำบาลีเดิมเป็น โสฬสวตฺถุกา อานาปานสฺสติ บ้าง โสฬสวตฺถุโก อานาปานสฺสติสมาธิ บ้าง บางทีอรรถกถาก็เรียกยักเยื้องไปว่า โสฬสวตฺถุกา อานาปานสฺสติสมาธิภาวนา บ้าง โสฬสวตฺถุ อานาปานสฺสติกมฺมฏฺฐานํ บ้าง) แปลแบบรักษาศัพท์ว่า “อานาปานสติมีวัตถุ 16” แต่ในที่นี้เลือกแปลตามคำอธิบายในคัมภีร์ ปรมัตถมัญชุสา มหาฎีกาแห่งวิสุทธิมัคคฺ (วิสุทฺธิ.ฏีกา 2/34) ว่า “อานาปานสติ 16 ฐาน” เพราะในภาษาไทย คำว่า ฐาน เป็นคำที่คุ้นและช่วยสื่อความหมายของคำว่า วัตถุ ในที่นี้ได้ดี แต่จะแปลว่า “อานาปานสติ 16 หลัก” หรือ “อานาปานสติ 16 หัวข้อ (หรือ 16 ข้อ)” ก็ได้ บางทีก็เรียกให้ฟังเป็นลำดับว่า “อานาปานสติ 16 ชั้น”
�������ง) 16 ฐาน หรือ 16 หลัก หรือ 16 หัวข้อ หรือ 16 ข้อ ข้อ หรือ 16 ชั้นนั้น ท่านจัดเป็น 4 จตุกกะ คือ เป็นหมวดสี่ 4 หมวด ดังนี้
�����������1. กายานุปัสสนาจตุกกะ (หมวดสี่แห่งกายานุปัสสนา)
�����������2. เวทนานุปัสสนาจตุกกะ (หมวดสี่แห่งเวทนานุปัสสนา)
�����������3. จิตตานุปัสสนาจตุกกะ (หมวดสี่แห่งจิตตานุปัสสนา)
�����������4. ธัมมานุปัสสนาจตุกกะ (หมวดสี่แห่งธัมมานุปัสสนา)
�����������เป็นการระบุชัดว่า ส่วนไหนเป็นสติปัฏฐานข้อใด
�������จ) ว่าโดยไตรสิกขา ระหว่างปฏิบัตินั้น
�����������- ความมีกายวาจาตั้งอยู่ในความสงบสำรวม โดยมีเจตนาอันปลอดจากการละเมิดหรือเบียดเบียน (กายิกวาจสิกอวีตีกกมะ) เป็น ศีล �����������- การมีสติกำหนด ด้วยจิตที่ตั้งมั่นมีอารมณ์อารมณ์หนึ่งเดียวตามที่กำหนด (จิตตัสเสกัคตา) เป็น สมาธิ �����������- ความมีสัมปชัญญะรู้ทั่วพร้อม มองเห็นตามสภาวะ เป็น ปัญญา
�������ฉ) ในการปฏิบัติ ศีลเป็นเพียงฐานที่รองรับอยู่ ส่วนธรรมที่ปฏิบัติซึ่งจะเจริญขึ้นไป คือ สมาธิ และปัญญา อันได้แก่ สมถะ ในข้อต่อไป
�������ช) ในการปฏิบัติทั้งหมดนี้ สามจตุกกะแรก มีทั้ง สมถะ และ วิปัสสนา แต่จตุกกะที่ ๔ เป็น วิปัสสนา ล้วน
�������ฌ) โสฬสวัตถุกอานาปานสติ นี้ พระพุทธเจ้าตรัสแสดงบ่อย พบได้หลายแห่งในพระไตรปิฎก แต่ที่ประมวลเรื่องเกี่ยวข้องและข้อความแวดล้อมไว้ครบถ้วน ซึ่งรู้จักกันดีและเป็นที่อ้างอิงกันทั่วไป คือ อานาปานสติสูตร (ม.อุ. 14/282-291/190-202=M.III.78-82) นอกจากนั้นยังมีคำอธิบายโดยพิสดารในพระไตรปิฎก ปรากฏใน ปฏิสัมภิทามัคค์ (ขุ.ปฏิ. 31/362-422/244-299; = Ps.I.162-196) ส่วนในชั้นอรรถกถา ก็มีอธิบายหลายแห่ง โดยเฉพาะที่ค้นคว้าได้สะดวก คือ วิสุทธิมัคค์ (วิสุทฺธิ. 25/52-82= Vism.266-296)
Vin.III.70;
M.I.425;
M.III.82;
S.V.311;
A.V.111;
Ps.I.162. วินย. 1/178/132;
ม.ม. 13/146/140;
ม.อุ. 14/287-288/193;
สํ.ม. 19/1305-1306/394;
องฺ.ทสก. 24/60/119;
ขุ.ปฏิ. 31/362/244.
[NEW] [346] อานาปานสติ 16 ฐาน : พจนานุกรมพุทธศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๔๖ | อานาปานสติ คือ – Sonduongpaper
�������จตุกกะที่ 1 : กายานุปัสสนา
�������1) ทีฆํ วา อสฺสสนฺโต ‘ทีฆํ อสฺสสามี’ติ ปชานาติ, ทีฆํ วา ปสฺสสนฺโต ‘ทีฆํ ปสฺสสามี’ติ ปชานาติ; �������2) รสฺสํ วา อสฺสสนฺโต ‘รสฺสํ อสฺสสามี’ติ ปชานาติ, รสฺสํ วา ปสฺสสนฺโต ‘รสฺสํ ปสฺสสามี’ติ ปชานาติ; �������3) ‘สพฺพกายปฏิสํเวที อสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ, ‘สพฺพกายปฏิสํเวที ปสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ; �������4) ‘ปสฺสมฺภยํ กายสงฺขารํ อสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ, ‘ปสฺสมฺภยํ กายสงฺขารํ ปสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ.
�������1) เมื่อหายใจเข้ายาว เธอก็รู้ชัดว่า เราหายใจเข้ายาว หรือเมื่อหายใจออกยาว เธอก็รู้ชัดว่า เราหายใจออกยาว �������2) เมื่อหายใจเข้าสั้น เธอก็รู้ชัดว่า เราหายใจเข้าสั้น หรือเมื่อหายใจออกสั้น เธอก็รู้ชัดว่า เราหายใจออกสั้น �������3) เธอสำเหนียกว่า เราจักรู้ทั่วกาย(กองลม)ทั้งหมด หายใจเข้า เธอสำเหนียกว่า เราจักรู้ทั่วกาย(กองลม)ทั้งหมด หายใจออก�������4) เธอสำเหนียกว่า เราจักผ่อนระงับกายสังขาร หายใจเข้า เธอสำเหนียกว่า เราจักผ่อนระงับกายสังขาร หายใจออก
�������1. Breathing in long, he knows: “I am breathing in long”, or breathing out long, he knows: “I am breathing out long”, �������2. Breathing in short, he knows: “I am breathing in short”: or breathing out short, he knows: “I am breathing out short”; �������3. He trains thus: “Experiencing the entire (breath-) body, I shall breathe in”, He trains thus: “Experiencing the entire (breath-) body, I shall breathe out”; �������4. He trains thus: “Calming the bodily formation, I shall breathe in”, He trains thus: “Calming the bodily formation, I shall breathe out”.
�������จตุกกะที่ 2 : เวทนานุปัสสนา
�������5) ‘ปีติปฏิสํเวที อสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ, ‘ปีติปฏิสํเวที ปสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ; �������6) ‘สุขปฏิสํเวที อสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ, ‘สุขปฏิสํเวที ปสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ; �������7) ‘จิตฺตสงฺขารปฏิสํเวที อสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ, ‘จิตฺตสงฺขารปฏิสํเวที ปสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ; �������8) ‘ปสฺสมฺภยํ จิตฺตสงฺขาร อสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ, ‘ปสฺสมฺภยํ จิตฺตสงฺขาร ปสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ.
�������5) เธอสำเหนียกว่า เราจักเสวยรู้ปีติ หายใจเข้า เธอสำเหนียกว่า เราจักเสวยรู้ปีติ หายใจออก �������6) เธอสำเหนียกว่า เราจักเสวยรู้ความสุข หายใจเข้า เธอสำเหนียกว่า เราจักเสวยรู้ความสุข หายใจออก �������7) เธอสำเหนียกว่า เราจักเสวยรู้จิตตสังขาร หายใจเข้า เธอสำเหนียกว่า เราจักเสวยรู้จิตตสังขาร หายใจออก �������8) เธอสำเหนียกว่า เราจักผ่อนระงับจิตตสังขาร หายใจเข้า เธอสำเหนียกว่า เราจักผ่อนระงับจิตตสังขาร หายใจออก
�������5. He trains thus: “Experiencing rapture, I shall breathe in”, He trains thus: “Experiencing rapture, I shall breathe out”; �������6. He trains thus: “Experiencing joy, I shall breathe in”, He trains thus: “Experiencing joy, I shall breathe out”; �������7. He trains thus: “Experiencing the mental formation, I shall breathe in”, He trains thus: “Experiencing the mental formation, I shall breathe out”; �������8. He trains thus: “Calming the mental formation, I shall breathe in”, He trains thus: “Calming the mental formation, I shall breathe out”;
�������จตุกกะที่ 3 : จิตตานุปัสสนา
�������9) ‘จิตฺตปฏิสํเวที อสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ, ‘จิตฺตปฏิสํเวที ปสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ; �������10) ‘อภิปฺปโมทย์ จิตฺตํ อสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ, ‘อภิปฺปโมทย์ จิตฺตํ ปสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ; �������11) ‘สมาทหํ จิตฺตํ อสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ, ‘สมาทหํ จิตฺตํ ปสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ; �������12) ‘วิโมจยํ จิตฺตํ อสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ, ‘วิโมจยํ จิตฺตํ ปสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ.
�������9) เธอสำเหนียกว่า เราจักรู้ทั่วถึงจิต หายใจเข้า เธอสำเหนียกว่า เราจักรู้ทั่วถึงจิต หายใจออก �������10) เธอสำเหนียกว่า เราจักทำจิตให้ร่าเริง หายใจเข้า เธอสำเหนียกว่า เราจักทำจิตให้ร่าเริง หายใจออก �������11) เธอสำเหนียกว่า เราจักทำจิตให้ตั้งมั่น หายใจเข้า เธอสำเหนียกว่า เราจักทำจิตให้ตั้งมั่น หายใจออก �������12) เธอสำเหนียกว่า เราจักปล่อยเปลื้องจิต หายใจเข้า เธอสำเหนียกว่า เราจักปล่อยเปลื้องจิต หายใจออก
�������9. He trains thus: “Experiencing the mind, I shall breathe in”, He trains thus: “Experiencing the mind, I shall breathe out”; �������10. He trains thus: “Gladdening the mind, I shall breathe in”, He trains thus: “Gladdening the mind, I shall breathe out”; �������11. He trains thus: “Concentrating the mind, I shall breathe in”, He trains thus: “Concentrating the mind, I shall breathe out”; �������12. He trains thus: “Liberating the mind, I shall breathe in”, He trains thus: “Liberating the mind, I shall breathe out”.
�������จตุกกะที่ 4 : ธัมมานุปัสสนา
�������13) ‘อนิจฺจานุปสฺสี อสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ, ‘อนิจฺจานุปสฺสี ปสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ; �������14) ‘วิราคานุปสฺสี อสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ, ‘วิราคานุปสฺสี ปสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ; �������15) ‘นิโรธานุปสฺสี อสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ, ‘นิโรธานุปสฺสี ปสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ; �������16) ‘ปฏินิสฺสคฺคานุปสฺสี อสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ, ‘ปฏินิสฺสคฺคานุปสฺสี ปสฺสสิสฺสามี’ติ สิกฺขติ.
�������13) เธอสำเหนียกว่า เราจักพิจารณาเห็นความไม่เที่ยง หายใจเข้า เธอสำเหนียกว่า เราจักพิจารณาเห็นความไม่เที่ยง หายใจออก �������14) เธอสำเหนียกว่า เราจักพิจารณาเห็นความคลายออกได้ หายใจเข้า เธอสำเหนียกว่า เราจักพิจารณาเห็นความคลายออกได้ หายใจออก �������15) เธอสำเหนียกว่า เราจักพิจารณาเห็นความดับกิเลส หายใจเข้า เธอสำเหนียกว่า เราจักพิจารณาเห็นความดับกิเลส หายใจออก �������16) เธอสำเหนียกว่า เราจักพิจารณาเห็นความสลัดคืนได้ หายใจเข้า เธอสำเหนียกว่า เราจักพิจารณาเห็นความสลัดคืนได้ หายใจออก
�������13. He trains thus: “Contemplating impermanence, I shall breathe in”, He trains thus: “Contemplating impermanence, I shall breathe out”; �������14. He trains thus: “Contemplating fading away, I shall breathe in”, He trains thus: “Contemplating fading away, I shall breathe out”; �������15. He trains thus: “Contemplating cessation, I shall breathe in”, He trains thus: “Contemplating cessation, I shall breathe out”; �������16. He trains thus: “Contemplating relinquishment, I shall breathe in”, He trains thus: “Contemplating relinquishment, I shall breathe out”.
�������ข้อควรทราบ :
�������ก) คำว่า หายใจเข้า และหายใจออก นั้นพึงทราบว่า เป็นคำที่มีการแปลต่างกัน คือ อรรถกถาแห่งพระวินัยแปล อสฺสาส ว่า “หายใจออก” และ ปสฺสาส ว่า “หายใจเข้า” ส่วนอรรถกถาแห่งพระสูตรแปลกลับตรงข้าม คือแปล อสฺสาส ว่า “หายใจเข้า” และ ปสฺสาส ว่า “หายใจออก” ในที่นี้ถือตามคำแปลของอรรถกถาแห่งพระสูตร ผู้ศึกษาทราบอย่างนี้แล้ว จะใช้แบบใดก็ได้ พึงเลือกตามปรารถนา
�������ข) “สำเหนียกว่า” เป็นคำแปลตามสำนวนเก่า หมายถึงคำบาลีว่า สิกฺขติ จะแปลแบบทับศัพท์เป็น “ศึกษาว่า” ก็ได้
�������ค) ธรรมหมวดนี้ เรียกตามบาลีแห่งคัมภีร์ปฏิสัมภิมัคค์ว่า โสฬสวัตถุกอานาปานสติ (เช่น ขุ.ปฏิ. 31/362/244: 387/260= Ps.I.162;173 คำบาลีเดิมเป็น โสฬสวตฺถุกา อานาปานสฺสติ บ้าง โสฬสวตฺถุโก อานาปานสฺสติสมาธิ บ้าง บางทีอรรถกถาก็เรียกยักเยื้องไปว่า โสฬสวตฺถุกา อานาปานสฺสติสมาธิภาวนา บ้าง โสฬสวตฺถุ อานาปานสฺสติกมฺมฏฺฐานํ บ้าง) แปลแบบรักษาศัพท์ว่า “อานาปานสติมีวัตถุ 16” แต่ในที่นี้เลือกแปลตามคำอธิบายในคัมภีร์ ปรมัตถมัญชุสา มหาฎีกาแห่งวิสุทธิมัคคฺ (วิสุทฺธิ.ฏีกา 2/34) ว่า “อานาปานสติ 16 ฐาน” เพราะในภาษาไทย คำว่า ฐาน เป็นคำที่คุ้นและช่วยสื่อความหมายของคำว่า วัตถุ ในที่นี้ได้ดี แต่จะแปลว่า “อานาปานสติ 16 หลัก” หรือ “อานาปานสติ 16 หัวข้อ (หรือ 16 ข้อ)” ก็ได้ บางทีก็เรียกให้ฟังเป็นลำดับว่า “อานาปานสติ 16 ชั้น”
�������ง) 16 ฐาน หรือ 16 หลัก หรือ 16 หัวข้อ หรือ 16 ข้อ ข้อ หรือ 16 ชั้นนั้น ท่านจัดเป็น 4 จตุกกะ คือ เป็นหมวดสี่ 4 หมวด ดังนี้
�����������1. กายานุปัสสนาจตุกกะ (หมวดสี่แห่งกายานุปัสสนา)
�����������2. เวทนานุปัสสนาจตุกกะ (หมวดสี่แห่งเวทนานุปัสสนา)
�����������3. จิตตานุปัสสนาจตุกกะ (หมวดสี่แห่งจิตตานุปัสสนา)
�����������4. ธัมมานุปัสสนาจตุกกะ (หมวดสี่แห่งธัมมานุปัสสนา)
�����������เป็นการระบุชัดว่า ส่วนไหนเป็นสติปัฏฐานข้อใด
�������จ) ว่าโดยไตรสิกขา ระหว่างปฏิบัตินั้น
�����������- ความมีกายวาจาตั้งอยู่ในความสงบสำรวม โดยมีเจตนาอันปลอดจากการละเมิดหรือเบียดเบียน (กายิกวาจสิกอวีตีกกมะ) เป็น ศีล �����������- การมีสติกำหนด ด้วยจิตที่ตั้งมั่นมีอารมณ์อารมณ์หนึ่งเดียวตามที่กำหนด (จิตตัสเสกัคตา) เป็น สมาธิ �����������- ความมีสัมปชัญญะรู้ทั่วพร้อม มองเห็นตามสภาวะ เป็น ปัญญา
�������ฉ) ในการปฏิบัติ ศีลเป็นเพียงฐานที่รองรับอยู่ ส่วนธรรมที่ปฏิบัติซึ่งจะเจริญขึ้นไป คือ สมาธิ และปัญญา อันได้แก่ สมถะ ในข้อต่อไป
�������ช) ในการปฏิบัติทั้งหมดนี้ สามจตุกกะแรก มีทั้ง สมถะ และ วิปัสสนา แต่จตุกกะที่ ๔ เป็น วิปัสสนา ล้วน
�������ฌ) โสฬสวัตถุกอานาปานสติ นี้ พระพุทธเจ้าตรัสแสดงบ่อย พบได้หลายแห่งในพระไตรปิฎก แต่ที่ประมวลเรื่องเกี่ยวข้องและข้อความแวดล้อมไว้ครบถ้วน ซึ่งรู้จักกันดีและเป็นที่อ้างอิงกันทั่วไป คือ อานาปานสติสูตร (ม.อุ. 14/282-291/190-202=M.III.78-82) นอกจากนั้นยังมีคำอธิบายโดยพิสดารในพระไตรปิฎก ปรากฏใน ปฏิสัมภิทามัคค์ (ขุ.ปฏิ. 31/362-422/244-299; = Ps.I.162-196) ส่วนในชั้นอรรถกถา ก็มีอธิบายหลายแห่ง โดยเฉพาะที่ค้นคว้าได้สะดวก คือ วิสุทธิมัคค์ (วิสุทฺธิ. 25/52-82= Vism.266-296)
Vin.III.70;
M.I.425;
M.III.82;
S.V.311;
A.V.111;
Ps.I.162. วินย. 1/178/132;
ม.ม. 13/146/140;
ม.อุ. 14/287-288/193;
สํ.ม. 19/1305-1306/394;
องฺ.ทสก. 24/60/119;
ขุ.ปฏิ. 31/362/244.
หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช⭐เคล็ดลับการฝึกอานาปานสติ
พระธรรมเทศนาโดย
หลวงพ่อปราโมทย์๐ปาโมชฺโช
วัดสวนสันติธรรม๐อ๐ศรีราชา๐จ๐ชลบุรี
⭐ไลฟ์สดเสาร์อาทิตย์ หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช เวลา 9:0010:00 น. ที่
https://www.facebook.com/dhammateachings/
⭐สามารถเข้าไปดาวโหลดเสียง MP3 ที่ https://www.dhamma.com/thdownloads/ (CD47/550922A)
⭐ติดต่อรับสื่อCDและหนังสือธรรมะฟรีที่เฟสบุค \”มูลนิธิสื่อธรรมหลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช\”
⭐ติดตามไลฟ์สดทางเฟสบุค ธรรมะ ชิวชิว https://www.facebook.com/dhammachilchil/
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่
3004 3 อานาปานสติคืออะไร
ตู้ 07 2530
ฟังแล้วดีเกิดผลชีวิตเป็นสุขทุกประการเทอญ พุทธวจน สาธยาย ปฏิจจสมุปบาท บาลี ไทย ๒ ชม
ปฏิจจสมุปบาท (ปะติดจะสะหฺมุบบาด) เป็นชื่อพระธรรมหัวข้อหนึ่งในศาสนาพุทธ เรียกอีกอย่างว่า อิทัปปัจจยตา หรือ ปัจจยาการ เป็นหลักธรรมที่อธิบายถึงการเกิดขึ้นพร้อมแห่งธรรมทั้งหลายเพราะอาศัยกัน, การที่สิ่งทั้งหลายอาศัยกันจึงเกิดมีขึ้น เช่น ทุกข์เกิดขึ้นเพราะมีปัจจัย 12 เรื่องเกิดขึ้นสืบ ๆ เนื่องกันมาตามลำดับดังนี้ คือ
เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย สังขารจึงมี
เพราะสังขารเป็นปัจจัย วิญญาณจึงมี
เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย นามรูปจึงมี
เพราะนามรูปเป็นปัจจัย สฬายตนะจึงมี
เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย ผัสสะจึงมี
เพราะผัสสะเป็นปัจจัย เวทนาจึงมี
เพราะเวทนาเป็นปัจจัย ตัณหาจึงมี
เพราะตัณหาเป็นปัจจัย อุปทานจึงมี
เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย ภพจึงมี
เพราะภพเป็นปัจจัย ชาติจึงมี
เพราะชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะจึงมี
ความโศก ความคร่ำครวญ ทุกข์ โทมนัส และความคับแค้นใจ ก็มีพร้อม ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งปวงนี้ จึงมี
การเทศนาปฏิจจสมุปบาท ดังแสดงไปแล้วข้างต้น เรียกว่า อนุโลมเทศนา
หากแสดงย้อนกลับจากปลายมาหาต้น จากผลไปหาเหตุปัจจัย เช่น ชรามรณะเป็นต้น มีเพราะชาติเป็นปัจจัย ชาติมีเพราะภพเป็นปัจจัย ฯลฯ สังขารมีเพราะอวิชชาเป็นปัจจัย ดังนี้ เรียกว่า ปฏิโลมเทศนา
อธิบายความหมายของบทสวด…
ความทุกข์ จะดับไปได้เพราะ ชาติ (การเกิดอัตตา\”ตัวตน\”คิดว่าตนเป็นอะไรอยู่) ดับ
ชาติ จะดับไปได้เพราะ ภพ (การมีภาระหน้าที่และภาวะทางใจ) ดับ
ภพ จะดับไปได้เพราะ อุปาทาน (ความยึดติดในสิ่งต่าง ๆ) ดับ
อุปาทาน จะดับไปได้เพราะ ตัณหา (ความอยาก) ดับ
ตัณหา จะดับไปได้เพราะ เวทนา (ความรู้สึกทุกข์หรือสุขหรือเฉยๆ) ดับ
เวทนา จะดับไปได้เพราะ ผัสสะ (การสัมผัส) ดับ
ผัสสะ จะดับไปได้เพราะ สฬายตนะ (อายตนะใน๖+นอก๖) ดับ
สฬายตนะ จะดับไปได้เพราะ นามรูป (รูปขันธ์) ดับ
นามรูป จะดับไปได้เพราะ วิญญาณ (วิญญาณขันธ์) ดับ
วิญญาณ จะดับไปได้เพราะ สังขาร (อารมณ์ปรุงแต่งวิญญาณเจตสิก) ดับ
สังขาร จะดับไปได้เพราะ อวิชชา (ความไม่รู้อย่างแจ่มแจ้ง) ดับ
อายตนะ (อ่านว่า อายะตะนะ) แปลว่า ที่เชื่อมต่อ, เครื่องติดต่อ หมายถึง
สิ่งที่เป็นสื่อสำหรับติดต่อกัน ทำให้เกิดความรู้สึกขึ้น แบ่งเป็น 2 อย่างคือ
1.อายตนะภายใน หมายถึงสื่อเชื่อมต่อที่อยู่ในตัวคน บ้างเรียกว่า อินทรีย์
6 มี 6 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ทั้งหมดนี้เป็นที่เชื่อมต่อกับอายตนะ
ภายนอก
2.อายตนะภายนอก หมายถึงสื่อเชื่อมต่อที่อยู่นอกตัวคน บ้างเรียกว่า
อารมณ์ 6 มี 6 คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ[1] ธรรมารมณ์[2] ทั้งหมด
นี้เป็นคู่กับอายตนภายใน เช่น รูปคู่กับตา หูคู่กับเสียง เป็นต้น
อายตนะภายนอกนี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อารมณ์ เมื่อตาเห็นรูป เรียกว่า
สัมผัส รู้ว่ามีการเห็น เรียกว่าวิญญาณ เกิดความรู้สึกขึ้นเมื่อตาเห็นรูป
เรียกว่า เวทนา
[1]โผฏฐัพพะ คือ สิ่งที่มาถูกต้องกาย, สิ่งที่กายสัมผัสแตะต้องได้
ได้แก่ อารมณ์หรือสัมผัสที่มีลักษณะเย็น ร้อน อ่อน แข็ง หยาบ
ละเอียดเป็นต้น ซึ่งมากระทบหรือสัมผัสกับกาย และกายสามารถ
รู้สึกได้ถึงลักษณะนั้น เช่น น้ำกระเซ็นมาถูกแขน แขนก็รู้สึกถึงสิ่ง
ที่มาถูกนั้น
[2]ธรรมารมณ์ คือ อารมณ์ที่ใจรู้หรืออารมณ์ที่เกิดทางใจสิ่งที่ใจคิด
ความคิด จินตนาการ สิ่งที่ใจเก็บมาคิด ที่เป็นอดีต ปัจจุบัน อนาคต
แ้ล้วหน่วงดึงมาเป็นอารมณ์ หรือสิ่งที่เกิดขึ้นในใจ สัมผัสด้วยใจ
ขันธ์ แปลว่า กอง, หมวด, หมู่, ส่วน ในทางพุทธศาสนาหมายถึง
ร่างกายของมนุษย์ คือแยกร่างกายออกเป็นส่วนๆ ตามสภาพได้ 5 ส่วน
หรือ 5 ขันธ์ คือ
1.รูป ได้แก่ ส่วนที่ผสมกันของธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ เช่น ผม หนัง กระดูก
โลหิต
2.เวทนา ได้แก่ ระบบประมวลความรู้สึกว่า ชอบหรือไม่ชอบ และเฉยๆ
3.สัญญา ได้แก่ จำสิ่งที่ได้รับและรู้สึกนั้นๆ
4.สังขาร ได้แก่ ระบบคิดปรุงแต่ง แยกแยะสิ่งที่รับรู้สึกและจำได้นั้นๆ
5.วิญญาณ ได้แก่ ระบบรู้สิ่งนั้นๆ ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
ขันธ์นี้ รูปจัดเป็นรูปธรรม เวทนา,สัญญา,สังขาร,วิญญาณจัดเป็นนามธรรม
เมื่อจัดขันธ์เข้าในปรมัตถธรรม
วิญญาณขันธ์ จัดเข้าในจิต
เวทนาขันธ์ ,สัญญาขันธ์ ,สังขารขันธ์ จัดเข้าในเจตสิก
รูปขันธ์ จัดเข้าในรูป
การหมดเหตุปัจจัยของนามรูป จัดเข้าในนิพพาน
บทสวด ปฏิจสมุปบาท ๖ ชม เสียงพระอาจารย์ฯ
อนุสาสนีปาฏิหาริย์ ปาฏิหาริย์แห่งคำสอน
เหตุเกิดของความตาย และ เหตุดับของความตาย
อานาปานสติสำหรับคนทั่วไป @ ท่านพุทธทาสภิกขุ
ขอเชิญท่านรับฟังธรรมะที่สนใจ https://www.youtube.com/user/kancha085
ฟังธรรมะ พระธรรมโกศาจารย์ (ท่านพุทธทาสภิกขุ) https://www.youtube.com/watch?v=DJTW6FsYlHg\u0026list=PLS27KLBZvtnfWk4yv7TLOFGdyPMFqrqMj
ประวัติท่านอาจารย์พุทธทาสภิกขุ
พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินทปัญโญ) หรือรู้จักในนาม ท่านพุทธทาสภิกขุ เป็นชาวอำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี เกิดเมื่อปี พ.ศ. พุทธศักราช 2449 เริ่มบวชเรียนเมื่ออายุได้ 20 ปี ที่วัดบ้านเกิด จากนั้นได้เข้ามาศึกษาพระธรรมวินัยต่อที่กรุงเทพมหานคร จนสอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยค ท่านได้ตัดสินใจมาปฏิบัติธรรมที่อำเภอไชยา ซึ่งเป็นภูมิลำเนาเดิมของท่านพร้อมปวารณาตนเองเป็น พุทธทาส เนื่องจากต้องการถวายตัวรับใช้พระพุทธศาสนาให้ถึงที่สุด
ท่านพุทธทาสภิกขุมีนามเดิมว่า เงื่อม พานิช เกิดเมื่อวันอาทิตย์ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 7 ปีมะเมีย หรือวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. พุทธศักราช 2449 ในสกุลของพ่อค้า ที่ตลาดพุมเรียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ช่วงปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งขณะนั้นพุมเรียงยังเป็นที่ตั้งของตัวเมืองไชยา หรือจังหวัดไชยา ก่อนที่จะกลายมาเป็นจังหวัดสุราษฎร์ธานีในปัจจุบัน บิดาของท่านพุทธทาสภิกขุชื่อ เซี้ยง พานิช ประกอบอาชีพหลักคือการค้าขายของชำ บิดาของท่านพุทธทาสภิกขุมีเชื้อสายจีน เนื่องจากปู่ของท่านพุทธทาสภิกขุอพยพจากมณฑลฝูเจี้ยนในประเทศจีน มาเป็นช่างเขียนภาพสีบนกระจกที่เมืองไชยา ย่าของท่านพุทธทาสภิกขุชื่อส้มจีน ซึ่งเชื้อสายของย่าอพยพจากอำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช มาอยู่เมืองไชยาตั้งแต่สมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ แต่เดิมบิดาของท่านพุทธทาสภิกขุใช้แซ่โข่วหรือข่อ (หรือโค้ว ในภาษาแต้จิ๋ว) ต่อมาเมื่อมีพระราชบัญญัตินามสกุลในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทางราชการจึงเปลี่ยนนามสกุลของบิดาท่านเป็น พานิช เพราะตอนนั้นมีเพียงครอบครัวของท่านเท่านั้นที่ทำการค้าขาย งานอดิเรกที่รักยิ่งของบิดาท่านพุทธทาสภิกขุคืองานด้านช่างไม้ โดยในเวลาว่าง บิดาของท่านพุทธทาสภิกขุจะทำการต่อเรือไม้เป็นอาชีพเสริม ซึ่งทำให้ท่านพุทธทาสภิกขุสนใจ และชอบในงานด้านนี้ไปด้วย แม้ที่สวนโมกขพลาราม งานไม้ส่วนใหญ่ก็เกิดจากการทำกันเองของคณะสงฆ์ นอกจากนี้ บิดาของท่านพุทธทาสภิกขุยังมีความสามารถในทางกวี ซึ่งความสามารถด้านนี้ส่งอิทธิพลต่อท่านพุทธทาสภิกขุเป็นอย่างมาก โดยผลงานธรรมะของท่านพุทธทาสภิกขุส่วนหนึ่งได้ประพันธ์ไว้ในรูปร้อยกรอง ซึ่งมีความไพเราะ และดึงดูดใจให้คนทั้งหลายเข้าถึงเนื้อหาธรรมะได้ง่ายขึ้น
มารดาของท่านพุทธทาสภิกขุชื่อ เคลื่อน พานิช เกิดที่อำเภอท่าฉาง ตาของท่านพุทธทาสภิกขุชื่อเล่ง มียศเป็นขุนสิทธิสาร ปกครองหัวเมืองกระแดะ หรืออำเภอกาญจนดิษฐ์ในปัจจุบัน ครอบครัวของตายายมีความมั่นคงในพระพุทธศาสนา และมีการปฏิบัติสมาธิภาวนากันภายในบ้านเรือน ทำให้มารดาของท่านพุทธทาสภิกขุใกล้ชิดกับพระพุทธศาสนามาตั้งแต่เด็ก ซึ่งความศรัทธาในพระพุทธศาสนานี้ได้ส่งต่อมาที่บุตร และหล่อหลอมให้เด็กชายเงื่อม พานิช กลายเป็นท่านพุทธทาสภิกขุในเวลาต่อมา ท่านพุทธทาสภิกขุมีน้องสองคน ซึ่งมีอายุห่างจากท่านพุทธทาสภิกขุ 3 ปี และ 6 ปี ตามลำดับ น้องคนโตเป็นชาย ชื่อ ยี่เกย พานิช ซึ่งภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็น ธรรมทาส พานิช และได้เป็นกำลังหลักของคณะธรรมทานในการเผยแพร่พระพุทธศาสนา และสนองงานของท่านพุทธทาสภิกขุ ส่วนน้องสาวคนสุดท้องของท่านพุทธทาสภิกขุชื่อ กิมซ้อย พานิช ซึ่งภายหลังแต่งงานไปอยู่บ้านดอน และใช้นามสกุลสามีว่า เหมะกุล
ท่านพุทธทาสภิกขุได้บวชเรียนตามประเพณี เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. พุทธศักราช 2469 ที่โรงอุโบสถวัดอุบล หรือวัดนอก ก่อนจะย้ายมาประจำอยู่ที่วัดพุมเรียง มีพระอุปัชฌาย์คือ พระครูโสภณเจตสิการาม (คง วิมาโล) รองเจ้าคณะเมืองในสมัยนั้น และมีพระปลัดทุ่ม อินทโชโต เจ้าอาวาสวัดอุบล และ พระครูศักดิ์ ธมฺรกฺขิตฺโต เจ้าอาวาสวัดวินัย หรือวัดหัวคู เป็นพระคู่สวด ท่านพุทธทาสภิกขุได้รับฉายาว่า อินทปญฺโญ ซึ่งแปลว่าผู้มีปัญญาอันยิ่งใหญ่
ผลงานเด่นของทาสพุทธทาสคืองานหนังสือ อาทิ หนังสือพุทธธรรม ตามรอยพระอรหันต์ และคู่มือมนุษย์ และยังมีผลงานอื่นๆ อีกมากมายนับไม่ถ้วนซึ่งล้วนเป็นประโยชน์ต่อชนรุ่นหลังในการศึกษาศาสนาพุทธเป็นอย่างยิ่ง นอกจากนี้ ท่านยังเป็นพระสงฆ์ไทยรูปแรกที่บุกเบิกการใช้โสตทัศนูปกรณ์สมัยใหม่สำหรับการเผยแพร่ธรรมะ และท่านมีสหายธรรมคนสำคัญ คือ ปัญญานันทภิกขุ วัดชลประทานรังสฤษฎ์ และท่าน บ.ช. เขมาภิรัตน์
พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ)ได้ละสังขารอย่างสงบ ณ สวนโมกขพลาราม เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. พุทธศักราช 2536 สิริรวมอายุ 87 ปี 67 พรรษา คงเหลือไว้แต่ผลงานที่ทรงคุณค่าแทนตัวท่านให้อนุชนคนรุ่นหลังได้สืบสานปณิธานของท่านรับมรดกความเป็น \”พุทธทาส\” เพื่อพุทธทาสจะได้ไม่ตายไปจากพระพุทธศาสนา
หากท่านมีความสนใจศึกษาเพิ่มเติม http://www.buddhadasa.org/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%A0%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%82%E0%B8%B8.html
ถ้าหากมีข้อผิดพลาดประการใดต้องขอโทษขออภัยแก่ผู้รับฟังด้วย และขอน้อมรับการปรับปรุงแก้ไขทุกประการ
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆWiki
ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ อานาปานสติ คือ