โรคที่เกี่ยวกับผิวหนัง: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้
Session Timeout
You’re been inactive for a while. For security reason, we’ll automatically sign you out from our website. Please Click “Login” to extend your session
[Update] โรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง (Atopic Dermatitis) | โรคที่เกี่ยวกับผิวหนัง – Sonduongpaper
ชื่อผู้ใช้งาน
อีเมลล์
รหัสผ่าน
Your password must be at least 6 characters long.To make your password stronger,use upper and lower case letters,numbers,and the following [email protected]#$%^&*()
ยอมรับข้อกำหนดและเงื่อนไข
4 โรคผิวหนังที่ควรรู้จัก
ใครที่มีปัญหาโรคผิวหนังไม่ว่าจะเป็นโรคสะเก็ดเงิน โรคด่างขาว โรคผิวหนังอักเสบและภูมิแพ้ผิวหนัง และโรคผมร่วงเป็นหย่อม ต้องดูคลิปนี้❗️ เพราะโรคเหล่านี้สามารถรักษาได้ด้วยนวัตกรรมใหม่ “Therabeam UV308” ส่วนรายละเอียดจะเป็นอย่างไร ไปดูกันได้เลยจ้า
📞 สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์เอสเธทิคส บาย นครธน ชั้น 2 โทร 024509999
📌 ไม่อยากพลาดข่าวสารดีๆ เกี่ยวกับสุขภาพ อย่าลืมกด ‘See First’ หรือ ‘เห็นโพสต์ก่อน’ ด้วยนะคะ ^^
Nakornthon ศูนย์ผิวหนัง เอสเธทิคส TherabeamUV308 ด่างขาว
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่
การเดินทางเข้าไปในผิวหนังของคุณ
ลองจินตนาการถึงชุดที่คุณสามารถใส่ได้พอดีเป๊ะ ใส่ได้หลายปีโดยที่ไม่มีรอยย่นเลย สามารถซ่อมแซมตัวมันเองได้ กันน้ำได้ มีทั้งเครื่องทำความเย็นและความร้อนอยู่ในตัว และปกป้องคุณไม่ให้เจออันตรายและรังสี และมันก็ฟรีทั้งหมดเลยด้วย คุณกำลังสวมใส่มันอยู่ในตอนนี้ นี่คือผิวหนังของคุณ ร่างกายของมนุษย์เป็นเครื่องจักรที่ทั้งสวยงามและลึกลับ พวกเราได้เก็บรวบรวมข้อเท็จจริงสุดเจ๋งเกี่ยวกับร่างกายของมนุษย์มา และวันนี้ พวกเราจะมาดูกันว่าผิวหนังของมนุษย์ทำงานกันยังไง
ผิวหนังของเราประกอบไปด้วยชั้นสามชั้น: หนังกำพร้า หนังแท้ และเนื้อเยื่อใต้หนัง หนังกำพร้าเป็นชั้นด้านบนสุดของผิวหนัง นี่เป็นชุดเกราะกันน้ำพิเศษที่ช่วยปกป้องร่างกายของคุณจากแบคที่เรียและความรุนแรง ช่วงอายุของชุดเกราะนี้ไม่ยาวนานเลย แต่พวกมันจะถูกแทนที่ใหม่ทั้งหมด หลังจากผ่านไป 46 สัปดาห์ คุณรู้หรือเปล่า ว่าฝุ่นครึ่งนึงที่อยู่ในบ้านของคุณคือเซลล์ผิวหนังเก่า! อี๋!… ลองไปดูต่อกันเถอะ ว่าผิวหนังของคุณสร้างขึ้นจากอะไร ทำไมมันถึงไวต่อความรู้สึกมากๆ ทำไมผิวหนังตรงแผลเป็นถึงดูแตกต่างจากปกติ และยังมีข้อเท็จจริงที่น่าสนใจอื่นๆเกี่ยวกับอวัยวะที่ใหญ่ที่สุดในร่างกายมนุษย์
ชีวิตสดใส
กดติดตามช่องชีวิตสดใส https://bit.ly/3dDWYg2
เพลงของ Epidemic Sound https://www.epidemicsound.com/
ของในสต๊อก (รูปภาพ, วิดีโอ และอื่นๆ):
https://www.depositphotos.com
https://www.shutterstock.com
https://www.eastnews.ru
\” 6 สาเหตุ อาการคันยิบๆตามตัว \” โดย นพ.โกเมศ กิมวัฒนานุกุล
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมและติดต่อขอเข้ารับบริการได้ที่ CH9 Wellness Center โรงพยาบาลจุฬารัตน์ 9 แอร์พอร์ต (ถนนกิ่งแก้ว) 90/5 หมู่ 13 ตำบลราชาเทวะ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540
CH9 Wellness Center
โทรศัพท์ : 0917706640
เว็บไซต์ : http://www.ch9airport.com/
Facebook : https://www.facebook.com/ch9wellness
Line : https://line.me/ti/p/@ch9airport
เช็กสัญญาณอันตราย เสี่ยง “มะเร็งผิวหนัง” : พบหมอรามา ช่วง Rama Health Talk 27 ธ.ค.61(4/6)
Rama Health Talk “มะเร็งผิวหนังใกล้ตัวกว่าที่คิด”
เช็กสัญญาณอันตราย
เสี่ยง “มะเร็งผิวหนัง” เรื่องใกล้ตัวท่ีควรป้องกัน
อ. พญ.แพรมาลา ฉายาวิจิตรศิลป์
สาขาวิชาตจวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ติดตามรายการได้ทุกวันจันทร์ศุกร์ ออกอากาศสดผ่าน Facebook Fanpage เวลา 12.0013.00 น. โดยคุณผู้ชมสามารถรับชมรามาแชนแนลได้ที่ช่อง True Visions 42 หรือ ทางเว็บไซต์ http://www.ramachannel.tv และ http://www.youtube.com/ramachanneltv
ออกอากาศวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ.2561
\”เซ็บเดิร์ม โรคผิวหนังอักเสบเรื้อรัง\” : หมอคุยข่าว : รายการคุยกับหมออัจจิมา
รายการ \”คุยกับหมออัจจิมา\”
หมอคุยข่าว ตอน \”เซ็บเดิร์ม\” โรคผิวหนังอักเสบเรื้อรัง
โดย พญ.อัจจิมา สุวรรณจินดา
ผู้ชำนาญการด้านเลเซอร์ ศัลยกรรมผิวหนัง
มะเร็งผิวหนัง การแพทย์ผสมผสานชะลอวัย
ออกอากาศทาง Nation ช่อง 22
เมดดิไซด์ (อัจจิมา สหคลินิก)
แพทย์หญิงอัจจิมา สุวรรณจินดา
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้าน ผ่าตัดผิวหนัง มะเร็งผิวหนังและเลเซอร์ผิวหนัง
โทรศัพท์ : 029549440
Hot Line : 0899006100
Line : @medisci
• Facebook : https://www.facebook.com/Medisci
• Web site : https://www.mediscicenter.com
• Email : [email protected]
•Twitter : https://www.Twitter.com/Medisci
โรคภูมิแพ้ต่อมน้ำมัน พบได้บ่อยในคนไทย ถึงแม้ไม่ได้ติดต่อจากการสัมผัส พบได้บ่อย เพราะเมืองไทยเป็นที่ๆ มีอากาศร้อนชื้น แล้วก็ทำให้เกิดโรคผิวหนังได้หลายๆ โรค
\”โรคภูมิแพ้ต่อมน้ำมัน\” เรียกอีกชื่อว่า \”โรคเซ็บเดิร์ม\” (Seborrheic Dermatitis)เป็นโรคผิวหนังที่เป็นภาวะการอักเสบของผิวหนัง ที่มากจากต่อมไขมันในส่วนชั้นผิวหนัง โดยส่วนใหญ่แล้วโรคนี้เป็นโรคเรื้อรัง คนที่เป็นแล้วจะเป็นซ้ำๆ เป็นๆ หายๆ ไม่หายขาด พบว่ามีความสัมพันธ์กันกับภาวะที่มีฮอร์โมนแปรปรวน, เชื้อยีสต์หรือเชื้อราบางตัว หรือคนไข้ที่เกิดภาวะเครียด, คนไข้ที่มีเรื่องพันธุกรรม, คนไข้ที่นอนดึก, คนไข้ที่ภูมิต้านทานต่ำลง ก็อาจทำให้โรคเห่อขึ้นมาได้ หรือว่ากลุ่มคนไข้บางโรคที่มีโรคประจำตัวอยู่ อาจจะทำให้อาการของโรคเซ็บเดิร์มเป็นเยอะขึ้นมาได้ อย่างเช่น คนไข้ที่เป็นโรคHIV ที่มีภูมิต้านทานผิดปกติ บางทีในกลุ่มของคนไข้ที่มีผิวหนังอักเสบ ประเภท โรคผิวหนังอักเสบประเภทโรซาเชีย บางทีอาจทำให้อาการดูมากดูเยอะได้ ซึ่งจริงๆ แล้วคนไข้ที่มาจากโรคเซ็บเดิร์ม คนไข้จะเป็นได้หลากหลาย ตั้งแต่เป็นน้อยๆ จนกระทั่งเป็นมากๆ บางคนจะมีอาการแค่คันที่หัวคิ้ว อักเสบแดงนิดหน่อย โดยส่วนใหญ่ที่มีอาการอักเสบที่ผิวหนัง จะมีสะเก็ดขาวๆ บริเวณที่หัวคิ้วหรือบริเวณข้างจมูก เป็นตำแหน่งที่เจอบ่อย หรืออาจจะเป็นเครา, ไรผม, หนังศรีษะเหมือนคนมีรังแค บางคนพบที่ในใบหู, หน้าอก, รักแร้ และถุงอัณฑะ คนไข้จะมีอาการคันแดง และอาจจะมีอาการผิวหนังลอก เพราะถ้าอาการมีผื่น บางทีเราใช้สบู่ล้างหน้า โทนเนอร์ เซ็บเดิร์มก็จะแย่ลง จะมีภาวะที่มีอาการเซ็บเดิร์ม และมีทั้งบวกภาวะผื่นที่เกิดการระคายเคืองเข้าไปด้วยอีก เพราะบางทีเป็นแล้วไม่รู้ อาจะเข้าใจผิดว่าหน้าแดงสุขภาพดี มีเลือดฝาด จริงๆ แล้วไม่ใช่ จริงๆแล้วเป็นภาวะผิวหนังอักเสบ พอไม่รู้แล้วไปใช้ครีมบำรุงต่างๆ หรือบางทีไปใช้ครีมรักษาสิว พอเป็นผื่นแดงไปใช้ครีมอื่นๆ เพื่อไปปกปิดกลายเป็นว่าทำให้แย่ลงได้
อาการที่ควรไปพบแพทย์ เมื่อมีอาการเป็นผื่นแดงเป็นๆ หายๆ บางทีแดงมากๆ ระคายเคือง บางทีที่นอนดึก เครียด ภาวะภูมิต้านทานร่างกายอ่อนแอก็จะเป็นมากขึ้น
คุณหมอแนะนำให้คนไข้ดูแลผิวหน้า อย่าไปใช้อะไรที่ระคายเคืองกับผิว เช่น โทนเนอร์ ครีมลบริ้วรอยที่มีวิตามินเอผสม จะทำให้อาการแย่ลง การใช้ยารักษาสิวมีฤทธิ์ระคายเคือง อย่างเช่น จะมีกรดซาลิไซลิกแอซิด (Salicylic Acid), กรดวิตามินเอ(VITAMIN A) หรือแม้กระทั้งยารักษาสิวเบนโซอิลเพอร์ออกไซด์ (Benzoyl Peroxide) เวลาใช้กลุ่มคนไข้ที่เป็นเซ็บเดิร์มทำให้อาการแย่ลง อาจจะจ่ายยาที่เป็นสเตียรอยด์อ่อนๆ ให้คนไข้ใช้ อย่างเช่นกลุ่มไฮโดรคอร์ติโซน (Hydrocortisone) ก็ได้ หรือบางทีคนไข้ที่เป็นมากๆ จริงๆ อาจต้องให้ยาทาที่ต้องให้ ยาทาเชื้อรา หรือยารับประทานร่วมด้วย หรือจะให้ตัวล้างหน้าอาจจะเป็นตัวที่ช่วยลดยีสต์ อย่างเช่น พวกซีลีเนียมซัลไฟด์ (Selenium Sulfide) หรือบางทีที่มีที่ศรีษะ อาจจะใช้ซีลีเนียมซัลไฟด์ (Selenium Sulfide) ใช้ทั้งล้างหน้า สระผม หรือใช้ในกลุ่มพวกคีโตโคนาโซ (Ketoconazole) หรือว่าตัวที่ช่วยรักษาเชื้อรา ใช้ทั้งล้างหน้า สระผมได้ บางรายอาจต้องใช้ลดการบาดเจ็บ ลดการระคายเคือง ยกตัวอย่างเช่น การขัดผิว ล้างเอาคราบมันออกมากเกินไป ทำให้เกิดการระคายเคืองมากขึ้นก็ไม่ดี ต้องทำการหลีกเลี่ยงอะไรก็ตามที่จะไปทำให้ระคายเคืองผิวหนัง ให้ผิวหนังได้ซ่อมแซม ใช้มอยเจอร์ไรเซอร์ (Moisturizer) ที่มีความอ่อนโยน รักษาตัวเกราะป้องกันผิวให้ดี ช่วยฟื้นฟูทำให้ผิวหนังกลับมาคืนสู่สภาพปกติได้…
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Wiki
ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ โรคที่เกี่ยวกับผิวหนัง