[NEW] โดยคณะเภสัชฯ ม.มหิดล | ตารางวิตามินและแร่ธาตุ – Sonduongpaper

ตารางวิตามินและแร่ธาตุ: คุณกำลังดูกระทู้

วิตามินและแร่ธาตุคืออะไร?? ทำไมจึงสำคัญ??

เมื่อพูดถึงวิตามิน สิ่งแรกที่เรานึกถึงส่วนใหญ่คือ เม็ดยา ทั้งในรูปแบบเม็ด แคปซูลหรือ ผงละลายน้ำ จึงทำให้บางคนเกิดความสับสนระหว่างยาที่ใช้รักษาโรคกับวิตามิน ในความเป็นจริงแล้ววิตามินไม่ใช่ยารักษาโรค อธิบายง่ายๆ ว่า วิตามินคือ สารอินทรีย์ที่จำเป็นต่อชีวิตมีความสำคัญต่อการทำหน้าที่ตามปกติของร่างกายเรา และร่างกายไม่สามารถสร้างหรือสังเคราะห์วิตามินขึ้นเองได้ วิตามินจึงได้มาจากการรับประทานอาหารหรือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเท่านั้น

ภาพจาก :

เมื่อพูดถึงวิตามิน สิ่งแรกที่เรานึกถึงส่วนใหญ่คือ เม็ดยา ทั้งในรูปแบบเม็ด แคปซูลหรือ ผงละลายน้ำ จึงทำให้บางคนเกิดความสับสนระหว่างยาที่ใช้รักษาโรคกับวิตามิน ในความเป็นจริงแล้ววิตามินไม่ใช่ยารักษาโรค อธิบายง่ายๆว่า วิตามินคือ สารอินทรีย์ที่จำเป็นต่อชีวิตมีความสำคัญต่อการทำหน้าที่ตามปกติของร่างกายเรา และร่างกายไม่สามารถสร้างหรือสังเคราะห์วิตามินขึ้นเองได้ วิตามินจึงได้มาจากการรับประทานอาหารหรือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเท่านั้น

วิตามินไม่สามารถทดแทนโปรตีนหรือสารอาหารอื่น เช่นเกลือแร่ ไขมัน คาร์โบไฮเดรต น้ำหรือแม้แต่ทดแทนกันเองได้ คุณไม่สามารถรับประทานแต่วิตามิน แล้วเลิกรับประทานอาหารอื่นๆ เพื่อหวังให้มีสุขภาพที่ดีได้เพราะวิตามินและแร่ธาตุเป็นสารอาหารรอง (Micronutrients) ไม่ได้เป็นตัวที่ให้พลังงานกับเราโดยตรง เหมือนสารอาหารหลัก (Macronutrients) เช่น โปรตีน คาร์โบไฮเดรต และไขมัน ปริมาณของสารอาหารหลักและสารอาหารรองที่คุณต้องการเพื่อคงไว้ซึ่งสุขภาพดีนั้นแตกต่างกัน แต่ล้วนมีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน ดังเช่น ร่างกายจะคงอยู่ไม่ได้หากปราศจากวิตามินที่จำเป็นทุกชนิด

วิตามินส่วนใหญ่ถูกตั้งตามตัวอักษร แม้ว่าจะมีชื่อทางวิทยาศาสตร์แต่ไม่เป็นที่นิยมในการจดจำ วิตามินต่อไปนี้เป็นที่รู้จักกันในปัจจุบัน คือ วิตามิน A (เรตินอล แคโรทีน) วิตามิน B ได้แก่ B1(ไทอะมีน) B2 (ไรโบฟลาวิน ) B3 (ไนอะซิน) B4 (อะดีนีน ) B5 (กรดแพนโทเทนิก) B6 (ไพริด็อกซิน) B10 B11 (สารกระตุ้นการเจริญหรือโกร๊ธแฟ็กเตอร์) B12 (ไซยาโนโคบาลามิน) B13 (กรดออโรติก) B15 (กรดแพงเกมิก)B17 (อะมิกดาลิน) BC (กรดโฟลิก) BT (คาร์นิทีน) BXหรือPABA (กรดพารา-แอมิโนเบนโซอิก) วิตามิน C (กรดแอสคอร์บิก) วิตามิน D (แคลซิเฟอรอล ไวออสเตอรอล เออร์กอสเตอรอล) วิตามิน E (โทโคฟีรอล) วิตามิน K (เมนาไดโอน)

ว่าด้วยเรื่องของแร่ธาตุ

แม้ว่าร่างกายต้องการแร่ธาตุที่รู้จักกันประมาณ18 ชนิด ในการรักษาสภาพและควบคุมการทำงาน แต่ปริมาณสารอาหารที่แนะนำให้บริโภค (RDA: Recommended Dietary Allowance) ได้กำหนดไว้เพียง 7 ตัว คือ แคลเซียม ไอโอดีน แมกนีเซียม ฟอสฟอรัส ซีลีเนียม เหล็ก และสังกะสี

ไม่ว่าวิตามินจะมีความสำคัญเพียงใด แต่วิตามินจะไม่สามารถทำงานและไม่สามารถถูกดูดซึมได้เลยหากปราศจากแร่ธาตุ ถึงแม้ว่าร่างกายจะสังเคาะห์วิตามินบางตัวได้เอง แต่กลับไม่สามารถผลิดแร่ธาตุได้เลยสักตัว ยกตัวอย่างแร่ธาตุที่ช่วยเสริมการทำงานให้วิตามินทำงานได้มีประสิทธิภาพ เช่น วิตามิน A ทำงานร่วมกับแร่ธาตุอย่าง แคลเซียม แมกนีเซียม ฟอสฟอรัส ซีลีเนนียม และสังกะสี ได้ดีที่สุด

วิตามิน B ต่างๆทำงานร่วมกับแร่ธาตุกลุ่มดังกล่าว รวมถึงโคบอลต์ ทองแดง เหล็ก แมงกานีส โพแทสเซียม และโซเดียมด้วย

วิตามิน C ทำงานร่วมกับแร่ธาตุแคลเซียม โคบอลต์ ทองแดง เหล็กและโซเดียม สำหรับวิตามินดี ได้แก่ แคลเซียม ทองแดง แมกนีเซียม ซีลีเนียม และโซเดียม และสำหรับวิตามิน E ทำงานได้ดีหากได้ร่วมกับแร่ธาตุ แคลเซียม เหล็ก แมงกานีส ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ซีลีเนียม โซเดียม และสังกะสี เป็นต้น

จากการที่แร่ธาตุช่วยส่งเสริมให้วิตามินมีประสิทธิภาพมากขึ้นนี้ จะสังเกตุได้ว่าในผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจะมีส่วนประกอบของวิตามินและแร่ธาตุร่วมด้วยเสมอ


วิตามินมีแหล่งที่มาจากอะไร?? แตกต่างกันอย่างไร??

วิตามินแบ่งออกเป็นวิตามินธรรมชาติและวิตามินสังเคราะห์ ทั้ง 2 ชนิดจะให้ประสิทธิผล เช่นเดียวกัน แต่สิ่งที่แตกต่างกันคือวิตามินธรรมชาติจะให้ประโยชน์ที่หลากหลายกว่าวิตามินสังเคราะห์ ถึงแม้ว่าโครงสร้างทางเคมีของวิตามินทั้ง 2 ชนิดจะเหมือนกัน แต่วิตามินธรรมชาติมี ส่วนประกอบที่มากกว่า เช่น วิตามิน C สังเคราะห์มีเพียงกรดแอสคอร์บิกเท่านั้น แต่วิตามิน C ธรรมชาติจะ มีไบโอฟลาโวนอยด์ ซีคอมเพล็กซ์ทั้งกลุ่มเพิ่มขึ้นมา จึงส่งผลให้วิตามิน C ทำงานได้มีประสิทธิภาพมากกว่า

See also  การใช้งาน e-Service ของสำนักงานประกันสังคม | งานประกันสังคม

นายแพทย์เธรอน จีแรนดอล์ฟ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านภูมิแพ้ให้ความเห็นว่า “สารที่สังเคราะห์อาจทำ ให้เกิดปฏิกิริยาแพ้ในคนที่มีแนวโน้มว่าจะแพ้ง่าย ถึงแม้ว่าสารที่มีโครงสร้างทางเคมีแบบเดียวกันจาก ธรรมชาติจะไม่ทำให้เกิดการแพ้แต่อย่างใด”

แหล่งที่มาของวิตามินธรรมชาติต่างๆ ได้แก่

  • วิตามิน A มักมาจากน้ำมันตับปลา
  • วิตามิน B รวมได้มาจากยีสต์หรือตับ
  • วิตามิน C พบในผลไม้รสเปรี้ยว หรือที่ดีที่สุดคือสารสกัดมาจากโรสฮิป ซึ่งเป็นผลของกุหลาบชนิดหนึ่ง
  • วิตามิน E จากสารสกัดจากถั่งเหลือง จมูกข้าวสาลี หรือข้าวโพด


จะรับประทานวิตามินเสริมอาหารเมื่อใดและอย่างไร??

ช่วงเวลาที่แนะนำสำหรับรับประทานวิตามินคือ พร้อมมื้ออาหารหรือหลังอาหาร เนื่องจากวิตามินเป็นสารอินทรีย์ จึงควรรับประทานพร้อมอาหารและแร่ธาตุอื่นๆเพื่อการดูดซึมที่ดีที่สุด

หากคุณต้องรับประทานวิตามินที่ละลายได้ในน้ำ ได้แก่ วิตามิน B และ C ซึ่งจะถูกขับออกทางปัสสาวะอย่างรวดเร็ว คุณสามารถรับประทานพร้อมอาหารเช้า กลางวันและเย็นได้ จะช่วยให้ร่างกายคุณมีวิตามินในระดับสูงตลอดทั้งวัน แต่ถ้าไม่สะดวกที่จะรับประทานหลังอาหารทุกมื้อ อาจรับประทานครึ่งหนึ่งหลังอาหารเช้าและอีกครึ่งหนึ่งหลังอาหารเย็นแทนได้

หากคุณต้องรับประทานวิตามินทั้งหมดภายในมื้อเดียวควรเลือกรับประทานหลังอาหารมื้อใหญ่สุดของวัน และอย่าลืมว่า แร่ธาตุสำคัญอย่างยิ่งต่อการดูดซึมของวิตามิน คุณจึงควรรับประทานวิตามินและแร่ธาตุไปพร้อมๆกัน


ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับวิตามินที่คุณอาจไม่เคยรู้ ??

  • การสูบบุหรี่หนึ่งมวนทำลายวิตามินซีถึง 25-100 มิลลิกรัม
  • ประชากรที่อาศัยอยู่ในเมืองใหญ่ที่มีควันพิษหนาแน่นจะไม่ได้รับวิตามินดีอย่างที่ประเทศในชนบทได้รับ เพราะหมอกควันพิษขัดขวางการส่องผ่านของรังสียูวี
  • คนสูงอายุส่วนใหญ่ไม่ได้รับวิตามินดีอย่างพอเพียงจากอาหาร และร่างกายไม่สามารถสังเคราะห์ได้มากนัก เพราะได้รับแสงแดดไม่พอเพียง
  • การดื่มเครื่องดื่มมึนเมาเพียงวันละ 1 แก้ว ทำให้ร่างกายต้องสูญเสียวิตามิน B1 และ B6 และกรดโฟลิก
  • การรับประทานยาคุมกำเนิดอาจทำให้ร่างกายขาดวิตามิน B6 B12 โฟลิกและวิตามิน C
  • วิตามิน B1 ช่วยรักษาอาการเมารถ เมาเรือ และเมาเครื่องบินได้
  • ยาแอสไพรินสามารถเพิ่มอัตราการขับออกของวิตามินซีถึง 3 เท่า
  • ฟลาโวนอยด์ในองุ่นแดงมีประสิทธิภาพสูงกว่าวิตามินอีมากกว่าพันเท่า ในการยับยั้งปฏิกิริยาออกซิเดชั่นของคอเลสเตอรอลชนิด LDL
  • หากคุณต้องนอนอนอยู่บนเตียงตลอดเป็นเวลา 1 สัปดาห์หรือมากกว่า คุณจำเป็นต้องเสริมแคลเซียมเป็นพิเศษ เพราะร่างกายสูญเสียความหนาแน่นของมวลกระดูกไปในระหว่างที่ต้องนอนนานๆ

จะเห็นได้ว่าวิตามินและแร่ธาตุเป็นสิ่งจำเป็นต่อชีวิตและมีความสำคัญต่อการทำหน้าที่ในร่างกาย ไม่เพียงแต่การทานอาหารให้ครบทุกหมู่เพื่อให้ได้วิตามินและแร่ธาตุที่ครบถ้วนแล้ว ควรการหลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมหรือการทานอาหาร หรือยาบางอย่างเพื่อลดการทำลายวิตามินในร่างกายของเราโดยที่เราไม่รู้ตัว ก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่งนะคะ

เอกสารอ้างอิง

  1. Earl Mindell and Hester Mundis Armonk. The New vitamin bible. New Yotk U.S.A ; 2004
  2. www.nutritionthailand.or.th

เมื่อพูดถึงวิตามิน สิ่งแรกที่เรานึกถึงส่วนใหญ่คือ เม็ดยา ทั้งในรูปแบบเม็ด แคปซูลหรือ ผงละลายน้ำ จึงทำให้บางคนเกิดความสับสนระหว่างยาที่ใช้รักษาโรคกับวิตามิน ในความเป็นจริงแล้วอธิบายง่ายๆ ว่าสารอินทรีย์ที่จำเป็นต่อชีวิตมีความสำคัญต่อการทำหน้าที่ตามปกติของร่างกายเรา และร่างกายไม่สามารถสร้างหรือสังเคราะห์วิตามินขึ้นเองได้ วิตามินจึงได้มาจากการรับประทานอาหารหรือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเท่านั้นภาพจาก : http://cdn.pleinair.it/wp-content/uploads/2016/04/20160411_vitamina_b_470.jpg เมื่อพูดถึงวิตามิน สิ่งแรกที่เรานึกถึงส่วนใหญ่คือ เม็ดยา ทั้งในรูปแบบเม็ด แคปซูลหรือ ผงละลายน้ำ จึงทำให้บางคนเกิดความสับสนระหว่างยาที่ใช้รักษาโรคกับวิตามิน ในความเป็นจริงแล้ววิตามินไม่ใช่ยารักษาโรค อธิบายง่ายๆว่า วิตามินคือ สารอินทรีย์ที่จำเป็นต่อชีวิตมีความสำคัญต่อการทำหน้าที่ตามปกติของร่างกายเรา และร่างกายไม่สามารถสร้างหรือสังเคราะห์วิตามินขึ้นเองได้ วิตามินจึงได้มาจากการรับประทานอาหารหรือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเท่านั้นวิตามินไม่สามารถทดแทนโปรตีนหรือสารอาหารอื่น เช่นเกลือแร่ ไขมัน คาร์โบไฮเดรต น้ำหรือแม้แต่ทดแทนกันเองได้ คุณไม่สามารถรับประทานแต่วิตามิน แล้วเลิกรับประทานอาหารอื่นๆ เพื่อหวังให้มีสุขภาพที่ดีได้เพราะวิตามินและแร่ธาตุเป็นสารอาหารรอง (Micronutrients) ไม่ได้เป็นตัวที่ให้พลังงานกับเราโดยตรง เหมือนสารอาหารหลัก (Macronutrients) เช่น โปรตีน คาร์โบไฮเดรต และไขมัน ปริมาณของสารอาหารหลักและสารอาหารรองที่คุณต้องการเพื่อคงไว้ซึ่งสุขภาพดีนั้นแตกต่างกัน แต่ล้วนมีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน ดังเช่น ร่างกายจะคงอยู่ไม่ได้หากปราศจากวิตามินที่จำเป็นทุกชนิดวิตามินส่วนใหญ่ถูกตั้งตามตัวอักษร แม้ว่าจะมีชื่อทางวิทยาศาสตร์แต่ไม่เป็นที่นิยมในการจดจำ วิตามินต่อไปนี้เป็นที่รู้จักกันในปัจจุบัน คือ วิตามิน A (เรตินอล แคโรทีน) วิตามิน B ได้แก่ B1(ไทอะมีน) B2 (ไรโบฟลาวิน ) B3 (ไนอะซิน) B4 (อะดีนีน ) B5 (กรดแพนโทเทนิก) B6 (ไพริด็อกซิน) B10 B11 (สารกระตุ้นการเจริญหรือโกร๊ธแฟ็กเตอร์) B12 (ไซยาโนโคบาลามิน) B13 (กรดออโรติก) B15 (กรดแพงเกมิก)B17 (อะมิกดาลิน) BC (กรดโฟลิก) BT (คาร์นิทีน) BXหรือPABA (กรดพารา-แอมิโนเบนโซอิก) วิตามิน C (กรดแอสคอร์บิก) วิตามิน D (แคลซิเฟอรอล ไวออสเตอรอล เออร์กอสเตอรอล) วิตามิน E (โทโคฟีรอล) วิตามิน K (เมนาไดโอน)แม้ว่าร่างกายต้องการแร่ธาตุที่รู้จักกันประมาณ18 ชนิด ในการรักษาสภาพและควบคุมการทำงาน แต่ปริมาณสารอาหารที่แนะนำให้บริโภค (RDA: Recommended Dietary Allowance) ได้กำหนดไว้เพียง 7 ตัว คือ แคลเซียม ไอโอดีน แมกนีเซียม ฟอสฟอรัส ซีลีเนียม เหล็ก และสังกะสีไม่ว่าวิตามินจะมีความสำคัญเพียงใด แต่วิตามินจะไม่สามารถทำงานและไม่สามารถถูกดูดซึมได้เลยหากปราศจากแร่ธาตุ ถึงแม้ว่าร่างกายจะสังเคาะห์วิตามินบางตัวได้เอง แต่กลับไม่สามารถผลิดแร่ธาตุได้เลยสักตัว ยกตัวอย่างแร่ธาตุที่ช่วยเสริมการทำงานให้วิตามินทำงานได้มีประสิทธิภาพ เช่น วิตามิน A ทำงานร่วมกับแร่ธาตุอย่าง แคลเซียม แมกนีเซียม ฟอสฟอรัส ซีลีเนนียม และสังกะสี ได้ดีที่สุดวิตามิน B ต่างๆทำงานร่วมกับแร่ธาตุกลุ่มดังกล่าว รวมถึงโคบอลต์ ทองแดง เหล็ก แมงกานีส โพแทสเซียม และโซเดียมด้วยวิตามิน C ทำงานร่วมกับแร่ธาตุแคลเซียม โคบอลต์ ทองแดง เหล็กและโซเดียม สำหรับวิตามินดี ได้แก่ แคลเซียม ทองแดง แมกนีเซียม ซีลีเนียม และโซเดียม และสำหรับวิตามิน E ทำงานได้ดีหากได้ร่วมกับแร่ธาตุ แคลเซียม เหล็ก แมงกานีส ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ซีลีเนียม โซเดียม และสังกะสี เป็นต้นจากการที่แร่ธาตุช่วยส่งเสริมให้วิตามินมีประสิทธิภาพมากขึ้นนี้ จะสังเกตุได้ว่าในผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจะมีส่วนประกอบของวิตามินและแร่ธาตุร่วมด้วยเสมอวิตามินแบ่งออกเป็นวิตามินธรรมชาติและวิตามินสังเคราะห์ ทั้ง 2 ชนิดจะให้ประสิทธิผล เช่นเดียวกัน แต่สิ่งที่แตกต่างกันคือถึงแม้ว่าโครงสร้างทางเคมีของวิตามินทั้ง 2 ชนิดจะเหมือนกัน แต่วิตามินธรรมชาติมี ส่วนประกอบที่มากกว่า เช่น วิตามิน C สังเคราะห์มีเพียงกรดแอสคอร์บิกเท่านั้น แต่วิตามิน C ธรรมชาติจะ มีไบโอฟลาโวนอยด์ ซีคอมเพล็กซ์ทั้งกลุ่มเพิ่มขึ้นมา จึงส่งผลให้วิตามิน C ทำงานได้มีประสิทธิภาพมากกว่านายแพทย์เธรอน จีแรนดอล์ฟ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านภูมิแพ้ให้ความเห็นว่า “สารที่สังเคราะห์อาจทำ ให้เกิดปฏิกิริยาแพ้ในคนที่มีแนวโน้มว่าจะแพ้ง่าย ถึงแม้ว่าสารที่มีโครงสร้างทางเคมีแบบเดียวกันจาก ธรรมชาติจะไม่ทำให้เกิดการแพ้แต่อย่างใด”ช่วงเวลาที่แนะนำสำหรับรับประทานวิตามินคือ พร้อมมื้ออาหารหรือหลังอาหาร เนื่องจากวิตามินเป็นสารอินทรีย์ จึงควรรับประทานพร้อมอาหารและแร่ธาตุอื่นๆเพื่อการดูดซึมที่ดีที่สุดหากคุณต้องรับประทานวิตามินที่ละลายได้ในน้ำ ได้แก่ วิตามิน B และ C ซึ่งจะถูกขับออกทางปัสสาวะอย่างรวดเร็ว คุณสามารถรับประทานพร้อมอาหารเช้า กลางวันและเย็นได้ จะช่วยให้ร่างกายคุณมีวิตามินในระดับสูงตลอดทั้งวัน แต่ถ้าไม่สะดวกที่จะรับประทานหลังอาหารทุกมื้อ อาจรับประทานครึ่งหนึ่งหลังอาหารเช้าและอีกครึ่งหนึ่งหลังอาหารเย็นแทนได้หากคุณต้องรับประทานวิตามินทั้งหมดภายในมื้อเดียวควรเลือกรับประทานหลังอาหารมื้อใหญ่สุดของวัน และอย่าลืมว่า แร่ธาตุสำคัญอย่างยิ่งต่อการดูดซึมของวิตามิน คุณจึงควรรับประทานวิตามินและแร่ธาตุไปพร้อมๆกันจะเห็นได้ว่าวิตามินและแร่ธาตุเป็นสิ่งจำเป็นต่อชีวิตและมีความสำคัญต่อการทำหน้าที่ในร่างกาย ไม่เพียงแต่การทานอาหารให้ครบทุกหมู่เพื่อให้ได้วิตามินและแร่ธาตุที่ครบถ้วนแล้ว ควรการหลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมหรือการทานอาหาร หรือยาบางอย่างเพื่อลดการทำลายวิตามินในร่างกายของเราโดยที่เราไม่รู้ตัว ก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่งนะคะ

See also  ASMR 🌧 Rain sound and piano | เสียงฝน เปียโนฟังสบายๆ | Rainonleaves 🌿 | รูปภาพ วิว สวย ๆ จาก ญี่ปุ่น

[Update] แร่ธาตุ ภาพถ่ายสต็อก แร่ธาตุ รูปภาพปลอดค่าลิขสิทธิ์ | ตารางวิตามินและแร่ธาตุ – Sonduongpaper

แหล่งกำเนิดและตำแหน่งที่ตั้ง

ในร่ม

ข้างนอก


4 เคล็ดลับดื่มน้ำ ให้ผอมลง ลดพุงป่อง หน้าใส ให้ริ้วรอยลดลง


4 เคล็ดลับดื่มน้ำให้ ผอมลง ลดพุงป่อง หน้าใส ให้ริ้วรอยลดลง

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

4 เคล็ดลับดื่มน้ำ  ให้ผอมลง  ลดพุงป่อง  หน้าใส  ให้ริ้วรอยลดลง

EP95 : น้ำดื่มบำรุงไต…ไม่อยากฟอกไตต้องดู❗


EP95 : น้ำดื่มบำรุงไต…ไม่อยากฟอกไตต้องดู❗
มีน้ำหลายชนิดที่มีผลดีต่อไตและก็มีน้ำหลายชนิดที่มีผลเสียต่อไตอย่างรุนแรงการเลือกทานน้ำให้ถูกต้องทั้งชนิดและปริมาณจะทำให้ไตของเราสมบูรณ์แข็งแรงห่างไกลจากการฟอกไตไปตลอดชีวิต😉
ไตวาย,น้ำบำรุงไต,ล้างไต,ยาล้างไต,สาเหตุไตวาย,สาเหตุไตเสื่อม,โรคไต,สุขภาพ,โรคไตเสื่อม,ไตวายเกิดจากอะไร,ไตเสื่อมเกิดจากอะไร,ป้องกันไตเสื่อม,ไตเสื่อมเรื้อรัง,สาเหตุโรคไต,อะไรทำให้ไตเสื่อม,ไม่อยากฟอกไต,สาเหตุต้องฟอกไต,วิธีป้องกันไตเสื่อม,บำรุงไต ทำอย่างไร,อาหารทำให้ไตวาย,เบาหวาน,ความดันสูง,อาการไตวาย,ไต,ไตเสื่อม ไตวาย ป้องกัน,ความดัน,ฟอกไตที่คอ,ฟอกไต,ไตเสื่อม อาการ,ไตเสื่อม ป้องกัน,บํารุงไต กินอะไร,หมอท๊อป,สมุนไพรไทย,หน้าที่ของไต,สัญญาณเตือนโรคไต,สัญญาณเตือนโรคหัวใจ,สัญญาณเตือนโรคเบาหวาน
ไตวาย ฟอกไต หมอท๊อป

See also  รับได้ไหม...ถ้ามีใครอีกคน Flavour | Official MV | ภาพ ความ รู้สึก ดี ดี

EP95 : น้ำดื่มบำรุงไต...ไม่อยากฟอกไตต้องดู❗

เพิ่มน้ำหนัก multivitplus วิตามินและแร่ธาตุมากกว่า 22 ชนิด


เพิ่มน้ำหนัก กินแล้วเพิ่ม
🔅ช่วยเจริญอาหาร
🔅ดูดซึมสารอาหาร
🔰เลข อย.1111485950014
.
.
.
.
🍀 Inbox: https://m.me/multivitplus55
🌱 Line id: @bycathailand(มี @ ด้านหน้า)
👉🏻หรือจิ้มลิงก์นี้ ⤵
https://line.me/R/ti/p/@bycathailand

เพิ่มน้ำหนัก multivitplus วิตามินและแร่ธาตุมากกว่า 22 ชนิด

สูตรกินไข่ต้ม 14 วัน ลดน้ำหนักได้จริงไหม? | หมอหมีมีคำตอบ


สูตรกินไข่ต้ม 14 วัน ลดน้ำหนักได้จริงไหม?
ปัจจุบันในอินเตอร์เนตมีสูตรการรับประทานไข่ต้ม หลากหลายสูตร เพื่อการลดน้ำหนัก มีกิน 7 วัน กิน 14 วัน ซึ่งหลายคนก็มาถามหมอหมีนะครับว่า การกินไข่ต้มช่วยลดน้ำหนักได้จริงหรือไม่ ดังนั้นวันนี้หมอหมีเลยจะมาอธิบายให้ทุกคนฟังครับ
ไข่ต้มเป็นอาหารชนิดหนึ่งที่ได้รับความนิยม ไข่ต้มเป็นอาหารจำพวกโปรตีนชั้นดี อุดมไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุต่างๆที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ไข่ต้ม 1 ฟอง ให้พลังงาน 75 กิโลแคลอรี ซึ่งถือว่าเป็นอาหารที่มีพลังงานต่ำ ถ้าเทียบกับไข่ดาว หรือไข่เจียวที่มีพลังงานสูงกว่า 23 เท่า
สูตรกินไข่ต้ม 14 วัน ลดน้ำหนักได้จริงหรือไม่ คำตอบคือ จริงครับ ซึ่งหลักการการลดน้ำหนัก คือการทานอาหารที่มีพลังงานต่ำ โดยให้ผลรวมพลังงานอาหารที่เราทานเข้าไปในแต่ละวันน้อยลง และออกกำลังกายมากขึ้น ก็จะทำให้น้ำหนักเราลดลง ดังนั้นการทานไข่ต้มก็จะช่วยให้พลังงานรวมเราลดลง น้ำหนักเราจึงลด
แต่ต้องบอกว่าไข่ต้มไม่ได้มีสารอะไรเป็นพิเศษที่ช่วยลดน้ำหนัก ดังนั้นเราไม่จำเป็นต้องทานไข่ต้มเพียงอย่างเดียว เราสามารถทานอาหารอื่นๆได้ เช่น ปลานึ่ง ไก่ต้ม สลัดผัก ถั่ว ธัญพืช ซึ่งให้พลังงานต่ำเช่นกัน การทานอาหารที่หลากหลายจะทำให้เราไม่เบื่อ และได้สารอาหารที่ครบถ้วน
ถูกใจคลิปนี้ อย่าลืม กดLike กดแชร์ กดSubscribe กดกระดิ่ง ติดตามช่อง \”หมอหมีเม้าท์มอย\” กันด้วยนะครับ
ติดตามผลงาน \”หมอหมีเม้าท์มอย\” ได้ที่
Youtube : http://www.youtube.com/c/หมอหมีเม้าท์มอย
Facebook : https://www.facebook.com/MhomheeTalks/
IG : MhoMheeTalk
หมอหมีเม้าท์มอย หมอหมีมีคำตอบ ไข่ต้มลดน้ำหนัก ไข่ต้ม ลดความอ้วน @หมอหมี เม้าท์มอย

สูตรกินไข่ต้ม 14 วัน ลดน้ำหนักได้จริงไหม? | หมอหมีมีคำตอบ

การดูแลตับ(ตับแข็ง ตับอักเสบ ไขมันพอกตับ) – หมอนัท Live


สัญญาณที่ไม่ดีเมื่อตับมีปัญหา
ตา เป็นประตูของตับ – เช่น วุ้นในตาเสื่อม มองไม่เห็นเวลากลางคืน
มดลูก รังไข่ เกิดปัญหา – เช่นการขับประจำเดือน การปวดท้องประจำเดือน เจ็บตามแนวขาหนีบ
มีอาการคันตามร่างกาย – เพราะตับขับสารพิษได้น้อยลง จึงต้องขับทางผิวหนังมากขึ้น ทำให้ผิวพรรณไม่ผ่องใส
อ่อนเพลียอย่างมาก – เพราะสร้างสารอาหารได้น้อยลง
นอนหลับได้ยาก – เพราะเมื่อตับร้อน ร่างกายภายในจะร้อนขึ้น จนทำให้ควบคุมอารมณ์ได้ลำบาก
เส้นเอ็นแข็งตึง – ปวดตึงตามข้อต่อร่างกาย เช่น นิ้วมือ นิ้วเท้า หัวเข่า ฝ่าเท้า
อ่านรายละเอียดที่
https://nosickhandup.com/?p=456

ปรึกษาการใช้ยา
กับแพทย์แผนไทย
สั่งซื้อสมุนไพรได้ที่
[email protected] : @cheewaherb
https://lin.ee/9DLJDgz
หรือ
inbox Facebook cheewaherb
https://m.me/cheewaherbthai

ข้อมูลสุขภาพ : https://nosickhandup.com
ข้อมูลสมุนไพร : https://cheewaherb.com
ช่วยกันทำให้คนป่วยน้อยลง
แพทย์ทางเลือก
หมอที่ดีที่สุดคือตัวเราเอง

การดูแลตับ(ตับแข็ง ตับอักเสบ ไขมันพอกตับ) - หมอนัท Live

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Wiki

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ ตารางวิตามินและแร่ธาตุ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *