แขนอ่อนแรง: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้
The risk of an accident was in bed because of muscle pain patient.O:-patient on bed rest -The patient is unable to stand up and walk out.-Motor Power = 3, but there is pain in the hips.Discuss the implicationsBecause the patient has been injured the bone in the hips and spine. Cause pain in the waist area, and the range may affect the spine area is losing face in the movement and muscular limbs patient because the patient has severe pain when there is motion, and the. Unable to control the poised so vulnerable to accidents such as falls in bed. Fall, etc.Objectives. In order to prevent the occurrence of accidents fall fall while the patient is in the hospital.Evaluation criteria. The patient does not cause an accident. Fall Fall while in the hospital.Nursing activities1. assess ngae muscle using the motor power to bring healing and therapy planning, nursing.2. explain to patients and relatives through surveillance Fall protection extra The slide has to be very cautious about the impact to the patient if the patient fall.3. lift the side railing 2 more beds for sale in order to prevent the occurrence of an accident.4. Insert locking pin always bed to prevent bed flow and may cause an accident.5. provide patient care within closely. In order to prevent the occurrence of bit incident.6. visit patients on a regular basis, at least every 2 hours or, as appropriate, to care and help the patient.7. to assist the sign up-time and run-time activities, as appropriate, to prevent the occurrence of an accident.8. the placement of the patient can use to prevent accidents.9. take care of flooring and bathrooms are always clean and dry, in order to prevent the occurrence of an accident.10. provide gift assistance bed and bath to prevent the occurrence of accidents and to assist the patient.11. provide sufficient lighting to prevent the occurrence of an accident.12. adjust the lower bed to prevent fall in bed.13. every 1 hour visit to regularly monitor the patient.Evaluation.The patient was an accident while nursing, and hospital or relatives waited to help the patient time to motion. Dining or urine throughout
การแปล กรุณารอสักครู่..
[NEW] วิธีสังเกตอาการ “โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง” – โรงพยาบาลราชวิถี | แขนอ่อนแรง – Sonduongpaper
กรมการแพทย์ชี้ “โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงหรือเอแอลเอส” มีอาการเตือนกล้ามเนื้อเกร็ง กล้ามเนื้ออ่อนแรงและลีบเล็กลงเรื่อย ๆ พูดลำบาก กลืนลำบาก หายใจติดขัดและหอบเหนื่อยจากการหายใจไม่เพียงพอ หากพบสัญญาณเตือนดังกล่าว ควรรีบมาพบแพทย์เพื่อวินิจฉัยรักษาให้เร็วที่สุด
นายแพทย์ณรงค์ อภิกุลวณิช รองอธิบดีกรมการแพทย์ ในฐานะโฆษกกรมการแพทย์ เปิดเผยว่า โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง หรือ ALS (Amyotrophic Lateral Sclerosis) จัดเป็นโรคที่พบมากที่สุดในกลุ่มโรคเสื่อมของเซลล์ควบคุมกล้ามเนื้อ ทั้งในส่วนของสมอง และไขสันหลัง โดยมีอาการกล้ามเนื้อเกร็ง กล้ามเนื้ออ่อนแรงและลีบเล็กลงเรื่อย ๆ บริเวณมือ แขน ขา หรือเท้าข้างใดข้างหนึ่งก่อน และจะค่อยๆ เป็นมากขึ้น จนลามไป ทั้ง 2 ข้าง ร่วมกับมีอาการกล้ามเนื้อเกร็งหรือกล้ามเนื้อกระตุก ต่อมาจะมีอาการพูดลำบาก กลืนลำบาก หายใจติดขัดและหอบเหนื่อยจากกล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจอ่อนแรง จนกระทั่งเสียชีวิต ส่วนใหญ่ร้อยละ75 จะพบอาการเริ่มแรกที่แขน ขา ข้างใดข้างหนึ่งก่อน ร้อยละ 25 ผู้ป่วยที่แสดงอาการครั้งแรกด้วยการกลืนหรือพูดลำบาก ส่วนสาเหตุการเกิดโรคที่แท้จริงยังไม่ทราบแน่ชัด แต่พบว่าประมาณร้อยละ 10 ของผู้ป่วยเกิดจากพันธุกรรม โรคดังกล่าวมักพบในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง ส่วนใหญ่เกิดในช่วงอายุ 40 – 60 ปี
วิธีการสังเกตอาการโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง คือ อาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ แขน หรือ ขา หรือมีอาการกลืนลำบาก เสียงเปลี่ยน ร่วมกับอาการกล้ามเนื้อลีบและกล้ามเนื้อเต้นกระตุก โดยอาการอ่อนแรงจะค่อยๆ เป็นมากขึ้นเรื่อยๆ เมื่อมีอาการดังกล่าวควรรีบมาพบแพทย์เพื่อวินิจฉัยรักษา โดยแพทย์อายุรกรรมสาขาประสาทวิทยาที่มีประสบการณ์ จะทำการซักประวัติ ตรวจร่างกาย และตรวจทางห้องปฏิบัติการเพิ่มเติม โดยการตรวจเส้นประสาทและกล้ามเนื้อด้วยคลื่นไฟฟ้า
ทั้งนี้ การดูแลรักษาผู้ป่วยโรคนี้เป็นการรักษาแบบประคับประคอง ส่วนยาในปัจจุบันที่มีการยอมรับในวงการแพทย์ ช่วยชะลอการดำเนินของโรคได้มีเพียงยา Riluzole โดยมีฤทธิ์ในการยับยั้งสารกลูตาเมต ซึ่งเป็นสารสื่อประสาท ชนิดหนึ่งซึ่งถ้ามีมากเกินไปจะทำให้เกิดการตายของเซลล์ นอกเหนือจากการใช้ยาแล้ว การให้กำลังใจผู้ป่วยไม่ให้เกิดการท้อแท้และส่งเสริมให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี รวมทั้งให้ผู้ป่วยออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ทำกิจกรรมและทำกายภาพบำบัดกล้ามเนื้อส่วนที่อ่อนแรง เพื่อป้องกันการลีบที่เกิดจากภาวะที่กล้ามเนื้อไม่ได้ใช้งานนาน ๆ และป้องกันการติดของข้อ การรับประทานอาหารและพักผ่อนให้เพียงพอ ทั้งนี้ หากผู้ป่วยมีปัญหานอนราบไม่ได้หรือเหนื่อย เนื่องจากกล้ามเนื้อกระบังลมอ่อนแรง การใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดไม่ใส่ท่อช่วยหายใจที่บ้าน จะทำให้ผู้ป่วยนอนได้ไม่เหนื่อย มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นได้
ที่มา : สำนักข่าว กรมประชาสัมพันธ์
Please follow and like us:
พบหมอรามาฯ : การฟื้นฟูผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง ดูแลตัวเองได้ที่บ้าน RamaHealthTalk (ช่วง2)25.9.62
พบหมอรามาฯ ช่วง Rama Health Talk (ช่วงที่ 2)
การฟื้นฟูผู้ป่วย \”โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง\” ดูแลตัวเองได้ที่บ้าน
อ. นพ.เตชิต จิระวิชิตชัย ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ออกอากาศวันที่ 25 กันยายน 2562
พบหมอรามาฯ RamaHealthTalk
ติดตามชมรายการ \”พบหมอรามาฯ\” พบกับช่วง \”คุยข่าวเม้าท์กับหมอ\” อัพเดทข่าวสารเรื่องสุขภาพโรคภัยไข้เจ็บ และ ช่วง \” Rama Health Talk\” เรื่องราวสุขภาพที่จะทำให้คุณมีสุขภาพที่ดี ทุกวันจันทร์ วันศุกร์ เวลา 15.3016.30 น. ทาง True Visions42 และ YouTube Rama Channel
ติดตาม Rama Channel ได้ทาง
ติดตามชมรายการต่าง ๆ ของรามาแชนแนลได้ทาง
Facebook: Rama Channel
YouTube: Rama Channel TV
Website : RamaChannel.tv
True Visions 42
True ID Mobile Application
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
Ep.33 อัมพาต มือยังไม่มีแรง ทำไงดี? ตอนที่1
ผู้ป่วยอัมพาต ส่วนใหญ่จะมีอาการ กล้ามเนื้อมัดใหญ่ คือ แขนขาอ่อนแรง หลังการทำ กายภาพบำบัด ผู้ป่วยก็จะดีขึ้น แต่ปัญหาหนึ่งที่อาจจะยังหลงเหลืออยู่ ก็คือ การที่กล้ามเนื้อมัดเล็ก โดนเฉพาะที่มือ ยังอ่อนแรงอยู่ ซึ่งต้องอาศัยการทำกายภาพบำบัดที่มีเทคนิคมากขึ้น
คลิปวิดิโอนี้ นักกายภาพบำบัด ได้เล่าถึงท่าบริหารเฉพาะ กล้ามเนื้อที่มือ
กภ.ณัฐนิชา อินสมยา
นักกายภาพบำบัดประจำ
ชีวา บางใหญ่ นนทบุรี
www.chewa.co.th
เดินทางมา ชีวา
https://g.page/r/CW0Suq08BQc8EAE
คุยกับเราทาง Line
https://lin.ee/k8UqBKr
โทร 0800090691 0909250096
ชีวา เป็นศูนย์บริการทางการแพทย์ ตั้งอยู่ใน บางใหญ่ นนทบุรี การบริการประกอบไปด้วย
การฟื้นฟูและกายภาพบำบัดในรูปแบบ คลินิกกายภาพบำบัด หรือแบบพักรายเดือนภายในศูนย์ฟื้นฟูและกายภาพบำบัด
ศูนย์ไตเทียม ซึ่งผู้ป่วยไตวาย ที่ใช้สิทธิประกันสังคม หรือบัตรทอง สามารถฟอกไตโดยไม่มีค่าใช้จ่ายส่วนต่าง รวมถึงการ ผ่าตัดหลอดเลือดเตรียมการฟอกไต โดย ศัลยแพทย์เฉพาะทางด้านหลอดเลือด นอกจากนี้
คลินิกแพทย์เฉพาะทาง เช่น คลินิกศัลยกรรมหลอดเลือด, คลินิกโรคหัวใจ, คลินิกโรคกระดูกและข้อ
ต้องรู้ !! 5 สาเหตุ ทำให้ขาอ่อนแรง ห้ามพลาด | weakness in legs | พี่ปลา Healthy Fish
อาการขาอ่อนแรง มีทั้งแบบที่ไม่รุนแรง พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ หรือเป็นอาการสำคัญของโรคร้ายแรงบางอย่าง รายละเอียดดังนี้
1. ขาอ่อนแรงจากความผิดปกติของระบบประสาท เมื่อส่วนต่างๆ ของระบบประสาทถูกรบกวนการทำงาน จึงส่งผลให้กล้ามเนื้อบางส่วนของร่างกายอ่อนแรงลงได้ รวมถึงขาด้วย
2 ขาอ่อนแรงจากความผิดปกติของระบบกล้ามเนื้อ เมื่อกล้ามเนื้อส่วนใดส่วนหนึ่งของขาผิดปกติ จึงทำให้การเคลื่อนไหวของขาผิดปกติได้ เช่น กล้ามเนื้อทำงานไม่สมดุล กล้ามเนื้อบาดเจ็บ
3 ขาอ่อนแรงจากการไม่ได้ใช้งาน เกิดขึ้นได้กับทั้งผู้ป่วยที่ต้องนอนติดเตียงนานๆ หรือเกิดขึ้นตามธรรมชาติในผู้สูงอายุ ที่เมื่ออายุมากขึ้น การเคลื่อนไหวของร่างกายก็น้อยลง การอ่อนแรงของกล้ามเนื้อขาจากสาเหตุนี้มักจะสังเกตเห็นการฝ่อลีบ Atrophy
4. ขาอ่อนแรงจากโรคภูมิคุ้มกันของร่างกายทำงานผิดปกติ โรคที่เกิดจากการทำงานผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายหลายชนิดมีผลให้เกิดการอ่นแรงของกล้ามเนื้อบางส่วน หรืออ่อนแรงทั้งร่างกายได้
5 ขาอ่อนแรงที่เกิดจากระบบหัวใจและหลอดเลือด มีผลทำให้ผู้ป่วยเหนื่อยง่าย อ่อนล้า และสมรรถภาพโดยรวมของร่างกายลดลงก็อาจทำให้ร่างกายอ่อนแรงลง กล้ามเนื้อไม่ทนทานต่อการใช้งาน
ขาอ่อนแรง ขาไม่มีแรง พี่ปลาHealthyFish
สนใจติดต่องานได้ที่
อีเมล์ [email protected]
เบอร์โทรติดต่องาน 0809649234
โรงพยาบาลธนบุรี : อาการไหนใช่โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง
กล้ามเนื้ออ่อนแรงเป็นภัยเงียบที่ไม่สามารถทราบล่วงหน้าได้ว่าจะเป็นหรือไม่ และคนทั่วไปมักจะมองข้ามอาการเริ่มต้นที่มักคล้ายกับอาการปวดเมื่อย เมื่อยล้า เพราะคิดว่าเป็นเรื่องปกติจากการทำงาน จนอาจมองข้ามการมาพบแพทย์ กว่าจะรู้ว่าเป็นหรือถึงมือแพทย์ก็มีอาการที่ทรุดลงหนักแล้ว หากมีอาการเข้าข่ายเหมือนในคลิปนี้ แนะนำว่าควรรีบพบแพทย์ดีกว่านะครับ
EP.3(ต่อ) ฝึกมือ!! แขนอ่อนแรง ฝึกยังไง!! (ตอน 2) | ฝึกแขน
มาแล้วๆ กับการ \”ฝึกมือ\” ตามคำเรียกร้องของทุกๆคน (ต่อจาก EP.10)
การฝึกแขนผู้ป่วยหลอดเลือดสมอง จะมีหลักการอยู่ 2 อย่าง
1. การฝึกการเคลื่อนไหวของแขน(ฝึกแขน)
2. การฝึกการใช้งานมือ(ฝึกมือ)
วันนี้คุณหมอโจ้สอนการฝึกมือ ในผู้ป่วยที่ไม่มีแรง หรือมีแรงน้อย(เกรด 02)
ต่อจากคลิปที่แล้ว (EP.10 ฝึกแขน https://youtu.be/0xzMYDXF014)
ต้องทำท่าไหนบ้าง ไปดูกันเลยค่ะ
ถ้าคลิปวีดีโอนี้เป็นประโยชน์ ฝากพี่ๆกด \”ติดตาม\” และส่งต่อความรู้ดีๆ ให้ไปถึง
ผู้ป่วยคนอื่นๆที่กำลังต่อสู้กับโรคร้ายด้วยนะคะ
ด้วยรักและห่วงใย
จาก ReBRAIN
_________________________________________
ReBRAIN กายภาพบำบัดโรคหลอดเลือดสมอง รักษาที่บ้าน
โทร.0654975021
แอดไลน์เพื่อรับความรู้เรื่องสุขภาพดีๆทุกวันได้ที่…
http://line.me/ti/p/[email protected]
หรือเข้า\”ร่วมกลุ่ม\”เพื่อแชร์ประสบการณ์การฝึกและรับความรู้ดีๆที่…
https://www.facebook.com/groups/492117875415698
ข้อมูลเพิ่มเติม
https://www.rebrainphysio.com
https://www.facebook.com/Rebrainpt
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆWiki
ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ แขนอ่อนแรง