วิธีรักษาโรคเครียด: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้
โรคซึมเศร้า (Depression disorder) และ โรควิตกกังวล (Anxiety Disorder) นับเป็นหนึ่งในอาการทางจิตเวชที่พบได้บ่อยมากขึ้นในปัจจุบัน ซึ่งมีความแตกต่างไปจากกาอาการเศร้า หรือ ความวิตกกังวลแบบปกติทั่วไป โดยเป็นความรู้สึกที่สามารถพบได้ในชีวิตประจำวัน
โรคซึมเศร้าไม่ใช่โรคที่เกิดขึ้นกับสภาพจิตใจเพียงอย่างเดียวอย่างที่หลาย ๆ คนคิด แต่เกิดจากการที่สมองหลั่งสารผิดปกติ ได้แก่ โดปามีน (dopamine) สารเซโรโทนิน (Serotonin) และนอร์อิพิเนฟริน (Norepinephrine) ส่งผลให้ร่างกาย พฤติกรรม ความคิด และอารมณ์ เกิดความแปรปรวน
ส่วนอาการวิตกกังวลนั้นสามารถทำให้ผู้ป่วยได้รับผลกระทบทั้งทางจิตใจและแสดงออกทางร่างกาย อาทิ
- ไม่มีสมาธิ กระวนกระวาย สับสน หงุดหงิดง่าย
- นอนไม่หลับ หลับยาก หรือตื่นบ่อย
- อ่อนเพลีย
- ง่วงนอนตอนกลางวัน
- มีความกลัวจนใจสั่น รู้สึกเหมือนหน้ามืด หายใจลำบาก
- มีอาการคลื่นไส้
- ปวดท้อง มวนท้อง ท้องเสีย
1.โรควิตกกังวลทั่วไป (Generalized Anxiety Disorder) คือเกิดความกังวลที่มากกว่าปกติในเรื่องทั่วไปในชีวิตประจำวัน เช่น งาน ครอบครัว สุขภาพ การเรียน ซึ่งผู้ป่วยยังสามารถระงับความรู้สึกได้ด้วยตัวเอง แต่หากผู้ป่วยยังรู้สึกวิตกแบบเดิมนานเกินกว่า 6 เดือน ไม่สามารถปรับตัวให้รับมือกับเหตุการณ์ต่างๆ ได้ อาจทำให้เกิดความอ่อนเพลีย กระวนกระวาย ไม่มีสมาธิ หงุดหงิด และนอนไม่หลับ หรือนอนหลับไม่สนิท หากมีอาการลักษณะนี้ ควรเข้าไปพบแพทย์เพื่อหาแนวทางรักษาต่อไป
2.โรคแพนิค (Panic Disorder) หรือโรคตื่นตระหนก คือเกิดความวิตกกังวลโดยไม่มีสาเหตุ ตื่นตระหนก กลัวว่าจะควบคุมตัวเองไม่ได้ หรือตาย มีอาการเจ็บป่วยนิดหน่อยก็กลับมีความกังวล เช่น กลัวว่าจะเป็นโรคร้าย ทั้งๆ ที่จริงๆ แล้วไม่ได้ป่วยทางกายแต่ป่วยทางจิตต่างหาก อาการโรควิตกกังวลเกินเหตุ อาจเกิดเป็นพักๆ ทำให้เหงื่อออก ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว ร้อนวูบวาบ แน่นหน้าอก วูบเหมือนจะเป็นลม อาการแบบนี้อาจทำให้เสียสุขภาพจิตและอาจนำไปสู่ภาวะอื่นๆ ได้ เช่น ภาวะซึมเศร้า ติดสารเสพติด เป็นต้น
3.โรคกลัวสังคม (Social Phobia) คือความวิตกกังวลที่จะต้องไปอยู่ในสถานการณ์ที่คิดว่าต้องถูกจ้องมอง ทำอะไรที่น่าอาย ต้องคอยหลบ รู้สึกประหม่า และมักคิดในแง่ลบว่าคนอื่นจะนินทาลับหลัง ทำให้ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน อาจทำให้เกิดอาการหน้าแดง เหงื่อออก คลื่นไส้ หัวใจเต้นเร็ว ปวดหัว ที่น่าสนใจ คือโรคนี้มักแอบแฝงอยู่ในตัวบุคคลที่ดูเป็นปกติสุขดี มองดูภายนอกร่างกายก็สมบูรณ์แข็งแรงดี และไม่มีทีท่าว่าจะป่วยแต่อย่างใด สาเหตุของอาการนี้อาจเกิดจากการเลี้ยงดู ขาดทักษะการเข้าสังคม หรือเกี่ยวข้องกับระบบการทำงานของสมอง พันธุกรรม
4.โรคกลัวแบบเฉพาะ (Phobia) คือความวิตกกังวลที่มากเกินไปในเรื่องบางเรื่อง บางสิ่งบางอย่างแบบเจาะจง เช่น กลัวเลือด กลัวที่แคบ กลัวรู กลัวสุนัข เป็นต้น แม้ว่าจะรู้สึกกลัวไม่สมเหตุสมผล แต่ก็ไม่สามารถห้ามความกลัวได้ พยายามจะหลีกเลี่ยงไม่เผชิญกับสิ่งที่ตัวเองกลัว ผู้ป่วยมักเกิดปฏิกิริยาทางกายขึ้นมาหากอยู่ในสถานการณ์จำเพาะเจาะจง เช่น ใจสั่น หน้ามืด มือ-เท้าเย็น อาจทำให้ใจสั่น หายใจลำบาก เหงื่อออก
5.โรคย้ำคิดย้ำทำ (Obsessive Compulsive Disorder) ความวิตกกังวลที่เกิดจากการคิดซ้ำไปซ้ำมา ทำให้เกิดพฤติกรรมที่ตอบสนองต่อเหตุการณ์แบบซ้ำๆ ก่อให้เกิดความรู้สึกวิตกกังวลใจ แม้ว่าอาการแบบนี้จะไม่รุนแรง หรือส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวันมากนัก แต่ทำให้เสียเวลาชีวิตไปกับพฤติกรรมเหล่านั้นไม่น้อย ซึ่งอาการย้ำคิดย้ำทำแบบนี้กลับพบบ่อยในคนวัยทำงาน เช่น คิดว่าลืมล็อคประตูบ้านต้องเดินกลับไปดูว่าล็อคหรือยัง คิดว่าลืมปิดก็อกน้ำต้องกลับไปเช็คอีกครั้ง เป็นต้น
sawasdee clinic cannabis medical สวัสดีคลินิกเวชกรรม
6.โรคเครียดหลังเหตุสะเทือนใจ (Post-Traumatic Stress Disorder, PTSD) คืออาการผิดปกติที่เกิดขึ้นหลังจากประสบกับเหตุการณ์อันเลวร้ายมาก เช่น เผชิญกับภาวะเฉียดตาย ภาวะภัยพิบัติตามธรรมชาติที่ร้ายแรง ถูกทำร้ายหรือเห็นคนใกล้ตัวตาย เป็นต้น อาการเกิดขึ้นได้หลายอย่าง ตั้งแต่เงียบเฉย ขาดการตอบสนอง ตกใจง่าย หวาดกลัว กังวลในเรื่องเล็กน้อย คิดถึงเหตุการณ์นั้นซ้ำๆและเกิดความกลัวและวิตกกังวลขึ้นมาใหม่เหมือนเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นอีกครั้ง รวมถึงหวาดกลัวสิ่งเร้าที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์
การรักษา
แม้โรคซึมเศร้าวิตกกังวลจะมีข้อมูลระบุว่าเกิดจากความผิดปกติของสารเคมีในสมอง แต่เมื่อวินิจฉัยอย่างจริงจังจะพบว่า มีหลายสาเหตุที่ทำให้เกิดอาการซึมเศร้าได้ วิธีรักษาให้ได้ผลก็คือ ต้องเลือกวิธีการรักษาที่เหมาะสมตามลำดับของสาเหตุนั้น ๆ
อย่างเช่นคนไข้ที่ประสบเหตุการณ์ร้าย ๆ ในชีวิต เช่น หย่าร้าง ตกงาน คนรักเสียชีวิต อาจแก้ไขได้โดยวิธีบำบัดมากกว่าการกินยา เพราะคนไข้กลุ่มนี้ต้องการให้มีคนมารับฟังความทุกข์ของเขา หรือหมออาจแนะนำให้คนไข้กลับไปใช้ชีวิตกับครอบครัว ชุมชน ได้นอนหลับที่เพียงพอ หรือ ไปพบนักบำบัดอาการ
ส่วนคนไข้ที่ซึมเศร้าจากอาการของโรคหรือความผิดปกติต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น ไฮโปธัยรอยด์ ต่อมอรีนัล ฮอร์โมนเพศ หรืออาการป่วยของลำไส้ ปัจจัยเหล่านี้จะมีผลให้เกิดเกิดอาการซึมเศร้าได้ ฉะนั้นควรเพิ่มการตรวจทางห้องปฏิบัติการหรือแล็บ รวมถึงคนไข้ที่รู้อาการป่วยของตัวเอง ต้องบอกหมอเพื่อนำมาวินิจฉัยโรคและกำหนดวิธีรักษา
ประเด็นหนึ่งที่น่าสนใจก็คือ การอักเสบในสมอง หรือการอักเสบในส่วนอื่นของร่างกายที่มีผลต่อสมอง อาจทำให้เกิดโรคซึมเศร้าการรับประทานอาหารที่ทำให้เกิดการอักเสบภายในร่างกายของคนปกติ อาจส่งผลต่อสมอง จึงไม่แปลกที่บางคนมีชีวิตที่ปกติสุข แต่อยู่ ๆ วันหนึ่งเกิดอาการซึมเศร้า ไม่อยากตื่นมาเจอโลก อาจเป็นผลมาจากการอักเสบในสมองก็เป็นได้
การที่มนุษย์เรามีอารมณ์ที่ผิดปกติ เช่น วิตกกังวล ซึมเศร้า เครียด นอนไม่หลับ อาการเหล่านี้เกิดจากการที่สารเคมีในสมองขาดความสมดุล ส่งผลต่อสภาพจิตใจและพฤติกรรมต่างๆ ของมนุษย์ สารเคมีในสมองมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า “สารสื่อประสาท”
หรือ Neurotransmitter เป็นสารที่เซลล์ประสาทสร้างขึ้นเพื่อใช้ส่งกระแสประสาทจากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง นั่นเอง สารเคมีในสมองที่สำคัญมีดังนี้
1. แอซิติลโคลีน (Acetylcoline) เป็นสารที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ การควบคุมพฤติกรรม ความจำ สมาธิ และการเรียนรู้
2. โดพามีน (Dopamine) ได้ชื่อว่าเป็นสารแห่งความสุข ซึ่งจะปล่อยออกมาเมื่อเรารู้สึกพึงพอใจ เช่น ได้ทานอาหารที่ชอบ ได้ออกกำลังกาย รวมถึงเวลาที่เรามีสมาธิจดจ่อกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดพามีนจะช่วยให้เรากิจกรรมนั้นๆ ได้ไม่รู้เบื่อ
3. นอร์เอพิเนฟริน (Norepinephrine) จะหลั่งออกมาเมื่อเกิดความกลัวและเครียด เพื่อกระตุ้นอัตราการเต้นของหัวใจและเพิ่มความดันโลหิต ทำให้เซลล์ได้รับสารอาหารเพิ่มขึ้น สำหรับเป็นพลังงานในการต่อสู้กับปัญหาต่างๆ นอกจากนี้ ร่างกายจะหลั่งนอร์เอพิเนฟรินสูงในตอนเช้า เพื่อกระตุ้นให้เรารู้สึกตื่นตัวและพร้อมสำหรับกิจกรรมในวันใหม่
4. ซีโรโทนิน (Serotonin) เป็นสารที่ควบคุมสภาพอารมณ์ ความรู้สึกเจ็บปวด ความหิว การหายใจ การนอนหลับ และพฤติกรรมอื่นๆ หากระดับสารซีโรโทนินต่ำ จะส่งผลต่ออารมณ์โดยตรง คือทำให้วิตกกังวล ก้าวร้าว ซึมเศร้า
5. กาบา (GABA) เป็นสารสื่อประสาทชนิดที่ยับยั้งกระแสประสาท ทำให้สมองที่ได้รับการกระตุ้นเกิดสมดุลและผ่อนคลายลง
6. เอนดอร์ฟิน (Endorphin) เป็นสารที่ออกฤทธิ์คล้ายสารเสพติด ทำให้รู้สึกผ่อนคลาย หายจากความเจ็บปวด สร้างความรู้สึกเคลิบเคลิ้ม พึงพอใจ จะหลั่งออกมาเมื่อในขณะออกกำลังกาย รู้สึกตื่นเต้น หรือมีเพศสัมพันธ์
sawasdee clinic สวัสดีคลินิกเวชกรรม cbdclinicthailand.com thailandcannabiscenter.com thailandcannabiscenter.org thailandcannabisclinic.org
การใช้กัญชารักษา เครียด โรคซึมเศร้า วิตกกังวล
มีบันทึกในประวัติศาสตร์มายาวนาน ถึงการใช้กัญชาเพื่อรักษาอาการซึมเศร้า สร้างความผ่อนคลาย กระตุ้นพลังงาน และเสริมอารมณ์ความสุขของผู้ใช้ ในหลายประเทศทั่วโลก ปัจจุบันกัญชาทางการแพทย์ถูกนำมาใช้เพื่อรักษาสภาวะการเสื่อมของร่างกายต่างๆ อาทิ มะเร็ง พาร์กินสัน นอนไม่หลับ ปวดเรื้องรัง ผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บป่วยเหล่านี้มักต่อสู้กับภาวะซึมเศร้าอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ การใช้กัญชาจึงเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งให้พวกเขารับมือกับความเครียด และอาการซึมเศร้าได้
มหาวิทยาลัย Southern California ได้ทำการวิจัยเกี่ยวกับกัญชาและภาวะซึมเศร้าโดยใช้แบบสำรวจที่กำหนดเป้าหมายทั้งผู้ใช้กัญชาและผู้ที่ไม่ใช้กัญชา งานวิจัย “ The Center for Epidemiologic Studies Depression Scale” แสดงผลลัพธ์ที่น่าสนใจ จากการสำรวจ 4,400 คนพบว่าคนที่ใช้กัญชามีอาการซึมเศร้าน้อยกว่าคนที่ไม่ได้ใช้
A Brain on Cannabinoids: The Role of Dopamine Release in Reward Seeking https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3405830/
ทำไมสมองถึงตอบสนองต่อการทำงานกัญชา?
สารออกฤทธิ์ที่สำคัญในกัญชา tetrahydrocannabinol (THC) มีลักษณะคล้ายสารเคมีที่ผลิตในสมองตามธรรมชาติเรียกว่า cannabinoids
Anandamide เป็นหนึ่งใน cannabinoids ที่ร่างกายผลิตขึ้น ซึ่งทำงานสัมพันธ์ต่อการสร้างพลังงาน ความอยากอาหาร อารมณ์ และการรับรู้ในสมองของเรา Anandamide ช่วยให้การทำงานของสมองสมดุลและได้รับการควบคุม เมื่อคนไข้ได้รับยากัญชาที่ทำงานร่วมกับระบบประสาทส่วนนี้ทำให้เกิดความสมดุลในสมองที่อาจจะขาดหายไปจนทำให้เกิดอาการเครียด วิตกกังวล ซึมเศร้าได้
สารสำคัญ THC ยังทำงานโดยกระตุ้นสารเคมีที่เรียกว่าโดปามีน เมื่อโดปามีนถูกปล่อยออกมาทางสมอง จะทำหน้าที่สร้างความรู้สึก rewarding หรือรางวัลความสุขแก่เรา การศึกษาในสัตว์ทดลองชี้ให้เห็นว่าเซลล์ประสาทที่สร้างโดปามีนถูกควบคุมโดยสารสื่อประสาทกลูตาเมตและกรดแกมมาอะมิโนบิวทีริก (GABA) สารเคมีทั้งสองทำหน้าที่ร่วมกันเพื่อควบคุมการผลิตโดพามีน ทำการส่งสัญญาณว่าเมื่อไหร่ควรหลั่ง เมื่อไหร่ควรหยุด THC ยับยั้งการผลิต ของ GABA ให้ส่งสัญญาณหยุดปล่อยโดปามีนน้อยลง และกระตุ้นให้ปล่อยโดปามีนมากขึ้น
สวัสดีคลีนิก กัญชาทางการแพทย์ กัญชารักษาโรค กัญชารักษามะเร็ง
นอกจากนั้น การใช้สารสกัด CBD ก็เป็นยาที่มีประสิทธิภาพในการรักษาภาวะซึมเศร้าได้ดีเนื่องจากมีผลต่อความสามารถของสมองในการผลิตเซโรโทนิน
CBD ยังมีประสิทธิภาพในการจัดการอาการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้า เช่น การกระตุ้นความอยากอาหาร ช่วยให้หลับ และหลับสนิทหลับลึก ลดความวิตกกังวลระหว่างวัน โดยไม่มีผลต่อจิตประสาทด้านอื่น
สิ่งสำคัญคือต้องสังเกตว่าไม่มีใครควรหยุดใช้ยาต้านอาการซึมเศร้าโดยไม่ปรึกษาแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญด้านการดูแลสุขภาพคนอื่น ๆ การหยุดยาเหล่านี้อย่างกะทันหันอาจทำให้เกิดผลข้างเคียงที่สำคัญและไม่พึงประสงค์
“Longevity, Naturally”
www.sawasdeeclinic.com
สวัสดีคลีนิกเวชกรรม Sawasdee Clinic
ปรึกษาแพทย์โดยไม่มีค่าใช้จ่าย โทร 029724013, 029723981, 0934381515
[NEW] เครียด โรคซึมเศร้า วิตกกังวล และการใช้กัญชารักษาอาการ | วิธีรักษาโรคเครียด – Sonduongpaper
โรคซึมเศร้า (Depression disorder) และ โรควิตกกังวล (Anxiety Disorder) นับเป็นหนึ่งในอาการทางจิตเวชที่พบได้บ่อยมากขึ้นในปัจจุบัน ซึ่งมีความแตกต่างไปจากกาอาการเศร้า หรือ ความวิตกกังวลแบบปกติทั่วไป โดยเป็นความรู้สึกที่สามารถพบได้ในชีวิตประจำวัน
โรคซึมเศร้าไม่ใช่โรคที่เกิดขึ้นกับสภาพจิตใจเพียงอย่างเดียวอย่างที่หลาย ๆ คนคิด แต่เกิดจากการที่สมองหลั่งสารผิดปกติ ได้แก่ โดปามีน (dopamine) สารเซโรโทนิน (Serotonin) และนอร์อิพิเนฟริน (Norepinephrine) ส่งผลให้ร่างกาย พฤติกรรม ความคิด และอารมณ์ เกิดความแปรปรวน
ส่วนอาการวิตกกังวลนั้นสามารถทำให้ผู้ป่วยได้รับผลกระทบทั้งทางจิตใจและแสดงออกทางร่างกาย อาทิ
- ไม่มีสมาธิ กระวนกระวาย สับสน หงุดหงิดง่าย
- นอนไม่หลับ หลับยาก หรือตื่นบ่อย
- อ่อนเพลีย
- ง่วงนอนตอนกลางวัน
- มีความกลัวจนใจสั่น รู้สึกเหมือนหน้ามืด หายใจลำบาก
- มีอาการคลื่นไส้
- ปวดท้อง มวนท้อง ท้องเสีย
1.โรควิตกกังวลทั่วไป (Generalized Anxiety Disorder) คือเกิดความกังวลที่มากกว่าปกติในเรื่องทั่วไปในชีวิตประจำวัน เช่น งาน ครอบครัว สุขภาพ การเรียน ซึ่งผู้ป่วยยังสามารถระงับความรู้สึกได้ด้วยตัวเอง แต่หากผู้ป่วยยังรู้สึกวิตกแบบเดิมนานเกินกว่า 6 เดือน ไม่สามารถปรับตัวให้รับมือกับเหตุการณ์ต่างๆ ได้ อาจทำให้เกิดความอ่อนเพลีย กระวนกระวาย ไม่มีสมาธิ หงุดหงิด และนอนไม่หลับ หรือนอนหลับไม่สนิท หากมีอาการลักษณะนี้ ควรเข้าไปพบแพทย์เพื่อหาแนวทางรักษาต่อไป
2.โรคแพนิค (Panic Disorder) หรือโรคตื่นตระหนก คือเกิดความวิตกกังวลโดยไม่มีสาเหตุ ตื่นตระหนก กลัวว่าจะควบคุมตัวเองไม่ได้ หรือตาย มีอาการเจ็บป่วยนิดหน่อยก็กลับมีความกังวล เช่น กลัวว่าจะเป็นโรคร้าย ทั้งๆ ที่จริงๆ แล้วไม่ได้ป่วยทางกายแต่ป่วยทางจิตต่างหาก อาการโรควิตกกังวลเกินเหตุ อาจเกิดเป็นพักๆ ทำให้เหงื่อออก ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว ร้อนวูบวาบ แน่นหน้าอก วูบเหมือนจะเป็นลม อาการแบบนี้อาจทำให้เสียสุขภาพจิตและอาจนำไปสู่ภาวะอื่นๆ ได้ เช่น ภาวะซึมเศร้า ติดสารเสพติด เป็นต้น
3.โรคกลัวสังคม (Social Phobia) คือความวิตกกังวลที่จะต้องไปอยู่ในสถานการณ์ที่คิดว่าต้องถูกจ้องมอง ทำอะไรที่น่าอาย ต้องคอยหลบ รู้สึกประหม่า และมักคิดในแง่ลบว่าคนอื่นจะนินทาลับหลัง ทำให้ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน อาจทำให้เกิดอาการหน้าแดง เหงื่อออก คลื่นไส้ หัวใจเต้นเร็ว ปวดหัว ที่น่าสนใจ คือโรคนี้มักแอบแฝงอยู่ในตัวบุคคลที่ดูเป็นปกติสุขดี มองดูภายนอกร่างกายก็สมบูรณ์แข็งแรงดี และไม่มีทีท่าว่าจะป่วยแต่อย่างใด สาเหตุของอาการนี้อาจเกิดจากการเลี้ยงดู ขาดทักษะการเข้าสังคม หรือเกี่ยวข้องกับระบบการทำงานของสมอง พันธุกรรม
4.โรคกลัวแบบเฉพาะ (Phobia) คือความวิตกกังวลที่มากเกินไปในเรื่องบางเรื่อง บางสิ่งบางอย่างแบบเจาะจง เช่น กลัวเลือด กลัวที่แคบ กลัวรู กลัวสุนัข เป็นต้น แม้ว่าจะรู้สึกกลัวไม่สมเหตุสมผล แต่ก็ไม่สามารถห้ามความกลัวได้ พยายามจะหลีกเลี่ยงไม่เผชิญกับสิ่งที่ตัวเองกลัว ผู้ป่วยมักเกิดปฏิกิริยาทางกายขึ้นมาหากอยู่ในสถานการณ์จำเพาะเจาะจง เช่น ใจสั่น หน้ามืด มือ-เท้าเย็น อาจทำให้ใจสั่น หายใจลำบาก เหงื่อออก
5.โรคย้ำคิดย้ำทำ (Obsessive Compulsive Disorder) ความวิตกกังวลที่เกิดจากการคิดซ้ำไปซ้ำมา ทำให้เกิดพฤติกรรมที่ตอบสนองต่อเหตุการณ์แบบซ้ำๆ ก่อให้เกิดความรู้สึกวิตกกังวลใจ แม้ว่าอาการแบบนี้จะไม่รุนแรง หรือส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวันมากนัก แต่ทำให้เสียเวลาชีวิตไปกับพฤติกรรมเหล่านั้นไม่น้อย ซึ่งอาการย้ำคิดย้ำทำแบบนี้กลับพบบ่อยในคนวัยทำงาน เช่น คิดว่าลืมล็อคประตูบ้านต้องเดินกลับไปดูว่าล็อคหรือยัง คิดว่าลืมปิดก็อกน้ำต้องกลับไปเช็คอีกครั้ง เป็นต้น
sawasdee clinic cannabis medical สวัสดีคลินิกเวชกรรม
6.โรคเครียดหลังเหตุสะเทือนใจ (Post-Traumatic Stress Disorder, PTSD) คืออาการผิดปกติที่เกิดขึ้นหลังจากประสบกับเหตุการณ์อันเลวร้ายมาก เช่น เผชิญกับภาวะเฉียดตาย ภาวะภัยพิบัติตามธรรมชาติที่ร้ายแรง ถูกทำร้ายหรือเห็นคนใกล้ตัวตาย เป็นต้น อาการเกิดขึ้นได้หลายอย่าง ตั้งแต่เงียบเฉย ขาดการตอบสนอง ตกใจง่าย หวาดกลัว กังวลในเรื่องเล็กน้อย คิดถึงเหตุการณ์นั้นซ้ำๆและเกิดความกลัวและวิตกกังวลขึ้นมาใหม่เหมือนเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นอีกครั้ง รวมถึงหวาดกลัวสิ่งเร้าที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์
การรักษา
แม้โรคซึมเศร้าวิตกกังวลจะมีข้อมูลระบุว่าเกิดจากความผิดปกติของสารเคมีในสมอง แต่เมื่อวินิจฉัยอย่างจริงจังจะพบว่า มีหลายสาเหตุที่ทำให้เกิดอาการซึมเศร้าได้ วิธีรักษาให้ได้ผลก็คือ ต้องเลือกวิธีการรักษาที่เหมาะสมตามลำดับของสาเหตุนั้น ๆ
อย่างเช่นคนไข้ที่ประสบเหตุการณ์ร้าย ๆ ในชีวิต เช่น หย่าร้าง ตกงาน คนรักเสียชีวิต อาจแก้ไขได้โดยวิธีบำบัดมากกว่าการกินยา เพราะคนไข้กลุ่มนี้ต้องการให้มีคนมารับฟังความทุกข์ของเขา หรือหมออาจแนะนำให้คนไข้กลับไปใช้ชีวิตกับครอบครัว ชุมชน ได้นอนหลับที่เพียงพอ หรือ ไปพบนักบำบัดอาการ
ส่วนคนไข้ที่ซึมเศร้าจากอาการของโรคหรือความผิดปกติต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น ไฮโปธัยรอยด์ ต่อมอรีนัล ฮอร์โมนเพศ หรืออาการป่วยของลำไส้ ปัจจัยเหล่านี้จะมีผลให้เกิดเกิดอาการซึมเศร้าได้ ฉะนั้นควรเพิ่มการตรวจทางห้องปฏิบัติการหรือแล็บ รวมถึงคนไข้ที่รู้อาการป่วยของตัวเอง ต้องบอกหมอเพื่อนำมาวินิจฉัยโรคและกำหนดวิธีรักษา
ประเด็นหนึ่งที่น่าสนใจก็คือ การอักเสบในสมอง หรือการอักเสบในส่วนอื่นของร่างกายที่มีผลต่อสมอง อาจทำให้เกิดโรคซึมเศร้าการรับประทานอาหารที่ทำให้เกิดการอักเสบภายในร่างกายของคนปกติ อาจส่งผลต่อสมอง จึงไม่แปลกที่บางคนมีชีวิตที่ปกติสุข แต่อยู่ ๆ วันหนึ่งเกิดอาการซึมเศร้า ไม่อยากตื่นมาเจอโลก อาจเป็นผลมาจากการอักเสบในสมองก็เป็นได้
การที่มนุษย์เรามีอารมณ์ที่ผิดปกติ เช่น วิตกกังวล ซึมเศร้า เครียด นอนไม่หลับ อาการเหล่านี้เกิดจากการที่สารเคมีในสมองขาดความสมดุล ส่งผลต่อสภาพจิตใจและพฤติกรรมต่างๆ ของมนุษย์ สารเคมีในสมองมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า “สารสื่อประสาท”
หรือ Neurotransmitter เป็นสารที่เซลล์ประสาทสร้างขึ้นเพื่อใช้ส่งกระแสประสาทจากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง นั่นเอง สารเคมีในสมองที่สำคัญมีดังนี้
1. แอซิติลโคลีน (Acetylcoline) เป็นสารที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ การควบคุมพฤติกรรม ความจำ สมาธิ และการเรียนรู้
2. โดพามีน (Dopamine) ได้ชื่อว่าเป็นสารแห่งความสุข ซึ่งจะปล่อยออกมาเมื่อเรารู้สึกพึงพอใจ เช่น ได้ทานอาหารที่ชอบ ได้ออกกำลังกาย รวมถึงเวลาที่เรามีสมาธิจดจ่อกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดพามีนจะช่วยให้เรากิจกรรมนั้นๆ ได้ไม่รู้เบื่อ
3. นอร์เอพิเนฟริน (Norepinephrine) จะหลั่งออกมาเมื่อเกิดความกลัวและเครียด เพื่อกระตุ้นอัตราการเต้นของหัวใจและเพิ่มความดันโลหิต ทำให้เซลล์ได้รับสารอาหารเพิ่มขึ้น สำหรับเป็นพลังงานในการต่อสู้กับปัญหาต่างๆ นอกจากนี้ ร่างกายจะหลั่งนอร์เอพิเนฟรินสูงในตอนเช้า เพื่อกระตุ้นให้เรารู้สึกตื่นตัวและพร้อมสำหรับกิจกรรมในวันใหม่
4. ซีโรโทนิน (Serotonin) เป็นสารที่ควบคุมสภาพอารมณ์ ความรู้สึกเจ็บปวด ความหิว การหายใจ การนอนหลับ และพฤติกรรมอื่นๆ หากระดับสารซีโรโทนินต่ำ จะส่งผลต่ออารมณ์โดยตรง คือทำให้วิตกกังวล ก้าวร้าว ซึมเศร้า
5. กาบา (GABA) เป็นสารสื่อประสาทชนิดที่ยับยั้งกระแสประสาท ทำให้สมองที่ได้รับการกระตุ้นเกิดสมดุลและผ่อนคลายลง
6. เอนดอร์ฟิน (Endorphin) เป็นสารที่ออกฤทธิ์คล้ายสารเสพติด ทำให้รู้สึกผ่อนคลาย หายจากความเจ็บปวด สร้างความรู้สึกเคลิบเคลิ้ม พึงพอใจ จะหลั่งออกมาเมื่อในขณะออกกำลังกาย รู้สึกตื่นเต้น หรือมีเพศสัมพันธ์
sawasdee clinic สวัสดีคลินิกเวชกรรม cbdclinicthailand.com thailandcannabiscenter.com thailandcannabiscenter.org thailandcannabisclinic.org
การใช้กัญชารักษา เครียด โรคซึมเศร้า วิตกกังวล
มีบันทึกในประวัติศาสตร์มายาวนาน ถึงการใช้กัญชาเพื่อรักษาอาการซึมเศร้า สร้างความผ่อนคลาย กระตุ้นพลังงาน และเสริมอารมณ์ความสุขของผู้ใช้ ในหลายประเทศทั่วโลก ปัจจุบันกัญชาทางการแพทย์ถูกนำมาใช้เพื่อรักษาสภาวะการเสื่อมของร่างกายต่างๆ อาทิ มะเร็ง พาร์กินสัน นอนไม่หลับ ปวดเรื้องรัง ผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บป่วยเหล่านี้มักต่อสู้กับภาวะซึมเศร้าอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ การใช้กัญชาจึงเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งให้พวกเขารับมือกับความเครียด และอาการซึมเศร้าได้
มหาวิทยาลัย Southern California ได้ทำการวิจัยเกี่ยวกับกัญชาและภาวะซึมเศร้าโดยใช้แบบสำรวจที่กำหนดเป้าหมายทั้งผู้ใช้กัญชาและผู้ที่ไม่ใช้กัญชา งานวิจัย “ The Center for Epidemiologic Studies Depression Scale” แสดงผลลัพธ์ที่น่าสนใจ จากการสำรวจ 4,400 คนพบว่าคนที่ใช้กัญชามีอาการซึมเศร้าน้อยกว่าคนที่ไม่ได้ใช้
A Brain on Cannabinoids: The Role of Dopamine Release in Reward Seeking https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3405830/
ทำไมสมองถึงตอบสนองต่อการทำงานกัญชา?
สารออกฤทธิ์ที่สำคัญในกัญชา tetrahydrocannabinol (THC) มีลักษณะคล้ายสารเคมีที่ผลิตในสมองตามธรรมชาติเรียกว่า cannabinoids
Anandamide เป็นหนึ่งใน cannabinoids ที่ร่างกายผลิตขึ้น ซึ่งทำงานสัมพันธ์ต่อการสร้างพลังงาน ความอยากอาหาร อารมณ์ และการรับรู้ในสมองของเรา Anandamide ช่วยให้การทำงานของสมองสมดุลและได้รับการควบคุม เมื่อคนไข้ได้รับยากัญชาที่ทำงานร่วมกับระบบประสาทส่วนนี้ทำให้เกิดความสมดุลในสมองที่อาจจะขาดหายไปจนทำให้เกิดอาการเครียด วิตกกังวล ซึมเศร้าได้
สารสำคัญ THC ยังทำงานโดยกระตุ้นสารเคมีที่เรียกว่าโดปามีน เมื่อโดปามีนถูกปล่อยออกมาทางสมอง จะทำหน้าที่สร้างความรู้สึก rewarding หรือรางวัลความสุขแก่เรา การศึกษาในสัตว์ทดลองชี้ให้เห็นว่าเซลล์ประสาทที่สร้างโดปามีนถูกควบคุมโดยสารสื่อประสาทกลูตาเมตและกรดแกมมาอะมิโนบิวทีริก (GABA) สารเคมีทั้งสองทำหน้าที่ร่วมกันเพื่อควบคุมการผลิตโดพามีน ทำการส่งสัญญาณว่าเมื่อไหร่ควรหลั่ง เมื่อไหร่ควรหยุด THC ยับยั้งการผลิต ของ GABA ให้ส่งสัญญาณหยุดปล่อยโดปามีนน้อยลง และกระตุ้นให้ปล่อยโดปามีนมากขึ้น
สวัสดีคลีนิก กัญชาทางการแพทย์ กัญชารักษาโรค กัญชารักษามะเร็ง
นอกจากนั้น การใช้สารสกัด CBD ก็เป็นยาที่มีประสิทธิภาพในการรักษาภาวะซึมเศร้าได้ดีเนื่องจากมีผลต่อความสามารถของสมองในการผลิตเซโรโทนิน
CBD ยังมีประสิทธิภาพในการจัดการอาการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้า เช่น การกระตุ้นความอยากอาหาร ช่วยให้หลับ และหลับสนิทหลับลึก ลดความวิตกกังวลระหว่างวัน โดยไม่มีผลต่อจิตประสาทด้านอื่น
สิ่งสำคัญคือต้องสังเกตว่าไม่มีใครควรหยุดใช้ยาต้านอาการซึมเศร้าโดยไม่ปรึกษาแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญด้านการดูแลสุขภาพคนอื่น ๆ การหยุดยาเหล่านี้อย่างกะทันหันอาจทำให้เกิดผลข้างเคียงที่สำคัญและไม่พึงประสงค์
“Longevity, Naturally”
www.sawasdeeclinic.com
สวัสดีคลีนิกเวชกรรม Sawasdee Clinic
ปรึกษาแพทย์โดยไม่มีค่าใช้จ่าย โทร 029724013, 029723981, 0934381515
EP 2 รักษาโรคเครียดด้วยตนเอง
Follow website: https://www.wellnesswecare.com/
Follow Line ID: https://goo.gl/tVBKJH
Follow Fanpage: https://www.facebook.com/Wellnesswecare/
Follow Instagram: https://goo.gl/gZhjAh
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
กฏแห่งกรรม เรื่อง วิธีแก้ความเครียด กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
vihantaweesakกฎแห่งกรรมความเครียดจิต กฏแห่งกรรม เรื่อง วิธีแก้ความเครียด กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข คุณเคยนอนไม่หลับเพราะคิดมากหรือกังวลใจบ้างหรือเปล่า? เคยรู้สึกเหนื่อยหน่ายจนไม่อยากทำอะไรบ้างไหม? เคยมีอาการปวดหรือเกร็งกล้ามเนื้อบริเวณท้ายทอย หลัง หรือไหล่ ทั้งที่ไม่ได้ใช้แรงทำอะไรเลย? ถ้าในช่วง 2 เดือนที่ผ่านมาคุณมีอาการเหล่านี้… แสดงว่าคุณกำลังเริ่มเข้าสู่ภาวะความเครียดในระยะเริ่มต้นแล้วนะครับ มาฟังต่อให้จบ พบวิธีแก้ไขนะครับ
มาทำความรู้จักกันก่อนว่า “ความเครียด” คืออะไร? ความเครียดเป็นภาวะของอารมณ์หรือความรู้สึกที่เกิดขึ้นเมื่อบุคคลต้องเผชิญกับปัญหาต่างๆ และทำให้รู้สึกถูกกดดัน ไม่สบายใจ วุ่นวายใจ กลัว วิตกกังวล ตลอดจนถูกบีบคั้น เมื่อบุคคลรับรู้หรือประเมินว่าปัญหาเหล่านั้นเป็นสิ่งที่คุกคามจิตใจ หรืออาจจะก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกาย จะส่งผลให้สภาวะสมดุลของร่างกายและจิตใจเสียไป แบบไหนถึงจะเรียกว่าเครียด?
เมื่อเกิดความเครียด บุคคลจะแสดงปฏิกิริยาตอบสนองต่อความเครียดและทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย ด้านจิตใจและอารมณ์ รวมทั้งด้านพฤติกรรม แต่เมื่อเวลาผ่านไป และความเครียดเหล่านั้นคลายลง ร่างกายจะกลับเข้าสู่ภาวะสมดุลอีกครั้งหนึ่ง ความเครียดทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเรื่องใดบ้าง?
ผลจากปฏิกิริยาตอบสนองที่มีต่อความเครียด ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวบุคคลนั้น โดยแบ่งออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่
1. ด้านร่างกาย
ภาวะที่เครียดเกิดขึ้นจะกระตุ้นระบบประสาทอัตโนมัติ ทำให้เกิดอาการหน้ามืด เป็นลม เจ็บหน้าอก ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ หลอดเลือดอุดตัน โรคอ้วน แผลในกระเพาะอาหาร เมื่อบุคคลตกอยู่ในความเครียดเป็นเวลานาน จะทำให้สุขภาพร่างกายเลวลงเนื่องจากเกิดความไม่สมดุลของระบบฮอร์โมน ซึ่งเป็นชีวเคมีที่สำคัญต่อมนุษย์ เพราะทำหน้าที่ช่วยควบคุมการทำงานของระบบต่างๆ ภายใน ขณะเกิดความเครียดจะทำให้ต่อมไตถูกกระตุ้น ทำให้ต่อมหมวกไตหลั่งฮอร์โมนคอร์ติซอล (cortisol) เพิ่มขึ้น จะทำให้เกิดอาการทางกายหลายอย่างแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล ตั้งแต่ปวดศีรษะ ปวดหลัง อ่อนเพลีย หากบุคคลนั้นต้องเผชิญกับความเครียดที่รุนแรงมากๆ อาจส่งผลให้เสียชีวิตได้ เนื่องจากระบบการทำงานที่ล้มเหลวของร่างกาย เช่นคนที่มีโรคเบาหวานเป็นโรคประจำตัวอยู่แล้ว หากเกิดความเครียดอย่างรุนแรง ฮอร์โมนคอร์ติซอล จะไปกระตุ้นระดับน้ำตาลในเลือดให้สูงขึ้น หรือลดต่ำลงอย่างผิดปกติ และทำให้เกิดอาการช็อกได้ หรือในบางรายที่ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายทำงานได้ไม่เต็มที่ ส่งผลให้เกิดเป็นอาการของโรคหอบหืด โรคภูมิแพ้ต่างๆ โรคผิวหนัง อาจมีอาการผมร่วงและมีอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งได้ง่ายกว่าเมื่อเทียบกับคนปกติโดยทั่วๆ ไป
2. ด้านจิตใจและอารมณ์
จิตใจของบุคคลที่เครียดจะเต็มไปด้วยการหมกมุ่นครุ่นคิด ไม่สนใจสิ่งรอบตัว ใจลอย
ขาดสมาธิ ความระมัดระวังในการทำงานเสียไปเป็นเหตุให้เกิดอุบัติเหตุได้ง่าย จิตใจขุ่นมัว โมโหโกรธง่าย สูญเสียความเชื่อมั่นในความสามารถที่จะจัดการกับชีวิตของตนเอง เศร้าซึม คับข้องใจ วิตกกังวล ขาดความภูมิใจในตนเอง ในบางรายที่ตกอยู่ในภาวะเครียดอย่างยาวนานมากๆ อาจก่อให้เกิดอาการทางจิต จนกลายเป็นโรคจิตโรคประสาทได้ เนื่องจากการเผชิญต่อภาวะเครียดเป็นเวลานานฮอร์โมนคอร์ติซอลที่มีปริมาณเพิ่มขึ้น จะทำให้เซลล์ประสาทฝ่อและลดจำนวนลง โดยเฉพาะในสมองส่วนที่เกี่ยวข้องกันกับความจำ และสติปัญญา ความเครียดจึงทำให้ความจำ และสติปัญญาลดลง และยังมีผลต่อการทำงานของ ระบบสารสื่อประสาท ที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับอารมณ์ และพฤติกรรมโดยเฉพาะสารสื่อประสาท จึงทำให้เกิดอาการซึมเศร้า และวิตกกังวลกว่าเวลาปกติ
3. ด้านพฤติกรรม
การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายดังที่กล่าวในข้างต้น ไม่เพียงแต่จะทำให้ระบบการ ทำงานของร่างกายผิดเพี้ยนไป แต่ยังทำให้พฤติกรรมการแสดงออกของบุคคลเปลี่ยนแปลงด้วย ยกตัวอย่างเช่น บุคคลที่เครียดมากๆ บางรายจะมีอาการเบื่ออาหารหรือบางรายอาจจะรู้สึกว่าตัวเองหิวอยู่ตลอดเวลา และทำให้มีการบริโภคอาหารมากกว่าปกติ มีอาการนอนหลับยาก หรือนอนไม่หลับหลายคืนติดต่อกัน ประสิทธิภาพในการทำงานน้อยลง เริ่มปลีกตัวจากสังคม และเผชิญกับความเครียดอย่างโดดเดี่ยว บ่อยครั้งบุคคลจะมีพฤติกรรมการปรับตัวต่อความเครียดในทางที่ผิด เช่น สูบบุหรี่ ติดเหล้า ติดยา เล่นการพนัน การเปลี่ยนแปลงของสารเคมีบางอย่างในสมอง ทำให้บุคคลมีพฤติกรรมก้าวร้าวมากขึ้น ความอดทนเริ่มต่ำลง พร้อมที่จะเป็นศัตรูกับผู้อื่นได้ง่าย อาจมีการอาละวาดขว้างปาข้าวของ ทำร้ายผู้อื่น ทำร้ายร่างกายตนเอง หรือหากบางรายที่เครียดมาก อาจเกิดอาการหลงผิดและตัดสินใจแบบชั่ววูบ นำไปสู่การฆ่าตัวตายในที่สุดได้เหมือนกัน
ทำอย่างไรจึงจะหายจากอาการเครียดได้?
วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทำให้เกิดความเครียด พิจารณาดูว่าสามารถแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุได้หรือไม่ หากแก้ไขไม่ได้อาจต้อง ขอความช่วยเหลือจากผู้อื่นเพื่อแก้ไขปัญหา เพราะบางครั้งปัญหานั้นอาจไม่ได้เกิดจากเราเพียงคนเดียวก็ได้
ดนตรีบำบัดความเครียด เพลงบรรเลงเพื่อการฝึกสมาธิ
เพลงบรรเลงเพื่อการฝึกสมาธิ บำบัดความเครียด
คลิปใหม่ๆ คลิกเลย https://bit.ly/2LzQvUJ
Twitter : https://twitter.com/MungKueFarmRak
=============
ในสังคมยุคปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นเด็กหรือผู้ใหญ่ทุกคนอาจมีช่วงเวลาที่ต้องตกอยู่ในสภาวะความตึงเครียด ในการใช้ชีวิตและในสังคมปัจจุบัน ปัญหาต่างๆ ที่เกิดจากการเรียน การทำงาน ครอบครัว เศรษฐกิจในยุคปัจจุบัน การติดอยู่บนโลกโซเซียลก็อาจจะเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดความเครียด และอื่นๆ อีกมากมาย หากเราไม่สามารถที่จะกำจัดความเครียดต่างๆ เหล่านี้ออกไปได้ นอกจากจะทำให้เกิดปัญหา ความผิดปกติทางด้านอารมณ์ ทางร่างกาย และสติปัญญา
ดนตรีบำบัดช่วยแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับบุคลิกภาพ เช่น ช่วยเพิ่มความมั่นใจและการกล้าแสดงออก เด็กที่มีปัญหาด้านการพูด ช่วยแก้ปัญหาเด็กสมาธิสั้น อาจใช้ดนตรีกระตุ้นให้เด็กสามารถพูดและฟังได้ดีขึ้น ช่วยเด็กให้เรียนรู้ในการฝึกควบคุมอารมณ์ของตนเอง ช่วยให้เกิดจินตนาการ และการฝึกคิดวิเคราะห์ พัฒนาทักษะการเคลื่อนไหว การทำงานสอดประสานกันของอวัยวะส่วนต่าง ๆ เช่น ตาและมือ และยังช่วยผ่อนคลายความตึงเครียดของกล้ามเนื้อส่วนต่าง ๆ การฝึกหัดเล่นดนตรีอย่างสม่ำเสมอ ช่วยให้เกิดระเบียบวินัย เกิดความความมานะพยายามและความอดทน ซึ่งจะนำไปสู่ผลสำเร็จ คือสามารถเล่นดนตรีที่ต้องการได้
ดนตรีมิได้มีประโยชน์ต่อผู้ที่มีปัญหาหรือมีโรคภัยทางร่างกายและจิตใจเท่านั้น คนปกติอย่าง เรา ๆ ท่าน ๆ สามารถใช้ดนตรีเพื่อความเพลิดเพลินเจริญใจ ผ่อนคลายความเครียดจากการทำงานหรือการดำเนินชีวิตในแต่ละวัน เลือกดนตรีตรงตามรสนิยมของท่าน หรือเพลงบรรเลงเบาๆที่ประกอบไปด้วยเสียงดนตรีและเสียงน้ำไหล ที่ฟังวนไปเรื่อยๆยาวๆ แต่ควรทำไปพร้อมกับการฝึกการนั่งสมาธิไปด้วย
ปัจจุบันสามารถหาฟังได้ง่าย ๆ ตามวิทยุหรือทีวี ใน website ของ Youtube ก็มีดนตรีที่ช่วยผ่อนคลาย (relaxing music) ดนตรีที่ช่วยในการทำสมาธิ (meditation music) หรือดนตรีที่ช่วยให้หลับ (sleeping music) ให้เลือกตามความชอบใจที่มีอยู่มากมาย ลองวิธีง่ายๆ นี้ดูรับรองความเครียดจะหายไปพร้อมกับความสุขของคุณจะกลับมาอีกครั้ง
เพลงบำบัด บำบัดความเครียด เพลงบรรเลงเพื่อการฝึกสมาธิ
8 ชั่วโมง เพลงกล่อมนอนผู้ใหญ่ บำบัดความเครียดสะสม โรคนอนไม่หลับ หลับลึกใน5นาที แก้ซึมและเศร้า V.58
ตามคำเรียกร้อง ขอเพลงนี้ฟังยาวๆทั้งคืนได้ไหม ไม่อยากสะดุ้งตื่นกับโฆษณา เราจัดให้ค่าาาา นอนเต็มอิ่มกันยาวๆไปเลย 8 ชั่วโมง ถ้าชอบเพลงนี้อยากลืมกดไลค์และแชร์ไปให้คนที่คุณรักได้นอนหลับสบายกันนะคะ
เปิดเบาๆ สะกดจิตใจให้ผ่อนคลาย คลายกังวล ได้อย่างดีด้วยคลื่นเสียง White Noise เสียงเปียโน จะกลบเสียงต่างๆรอบตัว ให้จดจ่ออยู่กับลมหายใจเข้าออก
เมื่อเราหลับสนิท ร่างกายจะหลั่งสาร Growth Hormones ออกมา ซึ่งจะช่วยซ่อมแซมร่างกายและเซลล์ต่างๆที่เสื่อมถอยรวมทั้งเซลล์สมอง คุณจะมีเซลล์สมองมากกว่า 84,000 เซลล์แน่นอน
เพลงที่ทำโดยนักจิตบำบัดและผู้สอนการทำสมาธิในอเมริกา เพลงเพื่อการหลับลึกแบบนี้เป็นที่นิยมมาอย่างยาวนานแล้วในต่างประเทศ โดยจะใช้คลื่นเสียงความถี่ต่ำเรียกว่าคลื่น Delta ในการเลียนแบบคลื่นสมองเราเมื่อยามนอนหลับ โดยเป็นคลื่นเสียงเดียวกันกับเมื่อเรามีการฝึกสมาธิ จนจิตมีความนิ่งและสงบ เมื่อฟังเรื่อยๆ จิตใจจะสงบและจิตจะนิ่งขึ้น ฟังซ้ำทุกวันช่วยเรื่องของการนอน การเรียน และการทำงาน หาฟังได้จากชาแนลนี้ที่เดียวค่ะ ถ้าเห็นที่ช่องอื่นแล้วชื่อเพลงเขาเหมือนเราหรือเพลงเหมือนเรานั่นคือก๊อปมาค่ะ
เรามีเพจเกี่ยวกับจิตวิทยา/ธุรกิจ/แรงบันดาลใจด้วยนะคะ เป็นเพจที่อ่านแล้วคุณจะได้พลังบวกกลับไปค่ะ
อย่าลืมไปกดติดตามกันด้วยน้า
https://www.facebook.com/Richhabitsmindset
เว็ปไซต์ของเรา
Richhabits.com
หากชื่นชอบและอยากสนับสนุนช่องของเรา คุณสามารถเลี้ยงกาแฟเราได้นะคะ
เราจะได้ตาสว่างยันเช้าเพื่อทำเพลงให้พวกคุณได้นอนหลับสบาย ^^
เลี้ยงกาแฟเราได้ที่นี่ค่ะ https://www.buymeacoffee.com/KateVP
เพลง ชื่อเพลง และรวมถึงบทความ มีลิขสิทธิ์ ห้ามทำซ้ำหรือลอกเลียนแบบ
Do not copy our songs.
Commercial Rights License
Music Tracks
เพลงกล่อมนอน เพลงนอนหลับ เพลงหลับลึก
วิธีควบคุมความคิดและความรู้สึกในแง่ลบ
พุทธวิธีควบคุมความคิด
พระนิพนธ์ สมเด็จพระญาณสังวร
สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
วัดบวรนิเวศวิหาร
ติดตามธรรมะดีๆทาง Youtube https://goo.gl/1fASM9
ติดตามธรรมะดีๆ ทางเฟสบุค https://www.facebook.com/1lifeisshort/
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆWiki
ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ วิธีรักษาโรคเครียด