อาการปวดท้องกระเพาะ: คุณกำลังดูกระทู้
อาการเจ็บท้องคลอด: มีกี่ขั้น อาการเป็นอย่างไร บรรเทาอย่างไร
ผู้หญิงหลายคนที่เคยผ่านการคลอดลูกมาแล้วพบว่า “อาการเจ็บท้องคลอด” นั้นมีมากมายอย่างไม่น่าเชื่อ แล้วอะไรคือสิ่งที่บรรดาว่าที่คุณแม่จะคาดหวังจากการคลอดได้บ้างละ มาติดตามคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญในบทความนี้กันเลยค่ะ
มดลูกเป็นอวัยวะที่กล้ามเนื้อจะเกิดการหดเกร็งอย่างแรงเพื่อบีบเอาตัวเด็กน้อยออกมา และการหดเกร็งตัวเหล่านี้เองเป็นสาเหตุหลักของความเจ็บปวดที่ได้รับจากการคลอด ความเจ็บปวดระหว่างการคลอดที่คุณจะได้พบนั้นยังขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง รวมไปถึงความแข็งแรงของการบีบตัว (ซึ่งจะเพิ่มขึ้นระหว่างการคลอด) การได้รับยาเร่งคลอดที่จะยิ่งทำให้เกิดการหดเกร็งตัวที่แรงขึ้น ขนาดและตำแหน่งของทารกในอุ้งเชิงกราน ไม่ว่าตัวเด็กจะเอาหน้าขึ้นหรือเอาหน้าลม (ตำแหน่งการคลอดในอุดมคติ) และความเร็วในการคลอดของแม่
นอกเหนือไปจากการรัดตัวของกล้ามเนื้อบริเวณหน้าท้องแล้ว บางครั้งก็จะเกิดในบริเวณลำตัวและอุ้งเชิงกรานของคุณด้วย คุณจะรู้สึกถึงแรงกดที่หลัง ฝีเย็บ กระเพาะปัสสาวะ และลำไส้ด้วย
“ทั้งหมดนี้รวมเข้าด้วยกันเพื่อสร้างความเจ็บปวด” นายแพทย์เจย์ โอไบรอัน ผู้อำนวยการแพทย์ของบริการสูตินรีเวชผู้ป่วยในโรงพยาบาลสตรีและทารกแห่งเมืองโพรวิเดนซ์ รัฐโรดส์ ไอร์แลนด์ กล่าว
การรวมกันของพันธุกรรมและประสบการณ์ชีวิตเป็นตัวกำหนดเกณฑ์ความเจ็บปวดของคุณหรือความสามารถในการทนต่อความเจ็บปวด ความกลัว ความกังวล และแม้แต่เรื่องราวด้านบวกหรือด้านลบที่คุณเคยได้ยินอาจช่วยให้คุณรับรู้ถึงความเจ็บปวด ยิ่งไปกว่านั้น คุณอาจจะไม่สามารถเปลี่ยนความสามารถในตัวของคุณให้ทนต่อความเจ็บปวดได้
ดังนั้น หากขีดจำกัดของคุณอยู่ในระดับต่ำ ให้ลองจัดเตรียมผู้ช่วยในการคลอดให้ดี งานศึกษาวิจัยแสดงให้เห็นว่าผู้หญิงที่คลอดกับดูลาหรือผดุงครรภ์มีการใช้ยาแก้ปวดน้อยลง มีการผ่าคลอดน้อยลง และพึงพอใจมากขึ้นกับประสบการณ์การคลอดของพวกเธอมากกว่าผู้หญิงที่ไม่ได้มีผู้ช่วยคลอดที่ดี
“เมื่อผู้หญิงรู้สึกอ่อนแอและเจ็บปวด ดูลาสามารถช่วยให้เธอรู้สึกดีขึ้นซึ่งจะเป็นการขยายขีดความสามารถในการคลอดด้วย” เพนนี ซิมคิน ดูลาจากซีแอทเทิล กล่าว ซึ่งเธอเป็นผู้เขียนร่วมของ Pregnancy, Childbirth, and the Newborn: The Complete Guide
ความเจ็บปวดจากการคลอดมักจะเกิดขึ้นทีละน้อยและเพิ่มขึ้นเมื่อคุณก้าวผ่านแต่ละขั้นของการคลอด และนี่คือสิ่งที่คุณจะต้องรับมือ
มีหลายปัจจัยที่จะทำให้คุณแม่รู้สึกถึงความเจ็บมากหรือน้อย
ระดับขั้นความเจ็บปวดระหว่างการคลอด
1. อาการเจ็บท้องเตือน
การเจ็บท้องเตือนนั้นเกิดจากการที่กล้ามเนื้อเตรียมตัวให้พร้อมสำหรับการคลอดที่ใกล้เข้ามา โดยคุณแม่จะรู้สึกแน่นบริเวณช่วงท้อง และรู้สึกเป็นช่วง ๆ แต่ละช่วงมีความเจ็บปวดและระยะเวลาไม่เท่ากัน รวมถึงบริเวณที่เจ็บอาจเปลี่ยนไปเรื่อย ๆ ซึ่งอาการจะหายไปเมื่อคุณแม่เดิน หยุดพัก หรือเปลี่ยนอิริยาบถ
2. อาการเจ็บท้องจริง
การเจ็บท้องจริงเกิดมาจากการบีบตัวของมดลูกที่เตรียมพร้อมสำหรับการคลอด โดยจะมีอาการที่ไม่ตายตัวและแตกต่างกันไปในแต่ละคน ซึ่งอาการที่มักพบได้บ่อย คือ ปวดตื้อ ๆ บริเวณหลังและท้องส่วนล่าง คุณแม่บางรายอาจมีอาการปวดบริเวณข้างลำตัวและต้นขา และปวดคล้ายกับอาการปวดประจำเดือนหรือท้องเสีย แต่มีความรุนแรงมากกว่า ทั้งนี้ อาการเจ็บท้องจริงจะเกิดขึ้นอย่างสม่ำเสมอและมีความถี่มากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งอาการจะค่อย ๆ รุนแรงขึ้นตามการบีบตัวของมดลูก นอกจากนี้ ความเจ็บปวดจากการเจ็บท้องจริงนั้นยากที่จะบรรเทาอาการ ไม่ว่าจะด้วยการเปลี่ยนอิริยาบถหรือการใช้ยาช่วยบรรเทาความเจ็บปวดก็ตาม
อย่างไรก็ตาม อาการปวดทั้งสองชนิดนี้ไม่สามารถบอกได้ว่าใกล้ถึงเวลาคลอดแล้วหรือไม่ เพราะบางรายอาจมีอาการปวดติดต่อกันหลายวัน แต่กลับไม่มีการเปลี่ยนแปลงบริเวณอุ้งเชิงกรานที่เป็นสัญญาณเตือนของการคลอดเลย หรือบางรายอาจมีอาการเจ็บท้องเตือนแค่เพียงเล็กน้อยเท่านั้น หากคุณแม่มีอาการเจ็บท้องอย่างต่อเนื่อง เจ็บทุก 5 นาทีติดต่อกันเป็นเวลาประมาณ 1 ชั่วโมง มีอาการน้ำเดิน ซึ่งจะมีน้ำใส ๆ คล้ายน้ำปัสสาวะไหลออกมาทางช่องคลอดในปริมาณมาก หรือมีมูกเลือดออกจากช่องคลอด ควรรีบไปพบแพทย์ทันทีเพราะอาการเหล่านี้เป็นสัญญาณใกล้คลอด
หากศึกษาและเตรียมพร้อมก่อนคลอดจะช่วยได้มาก
วิธีรับมืออาการเจ็บท้องคลอด
แม้ความเจ็บปวดที่เกิดขึ้นในระหว่างคลอดนั้นอาจมีความรุนแรงมาก แต่คุณแม่ก็สามารถบรรเทาความเจ็บปวดนั้นได้บ้างด้วยการปฏิบัติตัวตามวิธีการต่าง ๆ ดังนี้
1. ศึกษาขั้นตอนการคลอดล่วงหน้า
หากได้ศึกษาขั้นตอนการคลอดว่าต้องทำอย่างไร อาจเกิดอะไรขึ้นได้บ้าง และความเจ็บปวดจะเกิดขึ้นช่วงไหน รวมทั้งฝึกการเบ่งคลอดเบื้องต้นหรือฝึกหายใจแบบ Lamaze มาก่อนถึงวันคลอดจริง อาจช่วยให้คุณแม่คลายความกังวลลงได้บ้าง โดยอาจศึกษาด้วยตนเอง เข้าอบรมคอร์สเตรียมคลอด หรือสอบถามข้อมูลจากแพทย์
2. ทำจิตใจให้ผ่อนคลาย
เมื่อคุณแม่รู้สึกกลัวความเจ็บปวด อาจทำให้เกิดความเครียดและส่งผลให้ความเจ็บปวดรุนแรงขึ้นได้ ซึ่งมีหลายวิธีที่ช่วยให้คุณแม่รู้สึกผ่อนคลายมากขึ้น เช่น หายใจเข้าลึก ๆ เปิดเพลงฟัง หรือใช้น้ำมันหอมระเหยช่วยผ่อนคลาย
3. ควบคุมลมหายใจ
การควบคุมลมหายใจเป็นอีกวิธีหนึ่งที่อาจช่วยบรรเทาความเจ็บปวดในระหว่างคลอดได้ ซึ่งอาจใช้เทคนิคเดียวกับการควบคุมจังหวะการหายใจขณะออกกำลังกายหรือขณะควบคุมความเครียด โดยให้เลือกวิธีที่เหมาะกับตนเองที่สุด เช่น หายใจเข้าลึก ๆ อย่างช้า ๆ ให้ลมหายใจออกมาจากกระบังลม
4. ขยับร่างกาย
การเดินไปมาหรือโยกตัวช้า ๆ การได้เปลี่ยนอิริยาบถอาจช่วยบรรเทาความเจ็บปวดขณะคลอดได้ อีกทั้งแรงโน้มถ่วงยังอาจช่วยในเรื่องการเคลื่อนไหวและการกลับหัวของเด็กได้อีกด้วย แต่หากไม่สามารถเคลื่อนไหวได้สะดวกเพราะอุปกรณ์บางอย่าง อาจใช้วิธีนั่งข้างเตียงหรือยืนข้างเตียงแทน
5. มีเพื่อนอยู่ข้าง ๆ คณะคลอด
การให้บุคคลใกล้ชิดอย่างสามีหรือคนในครอบครัวอยู่ด้วยในขณะคลอดอาจช่วยลดความกังวลของคุณแม่ได้อีกทางหนึ่ง ซึ่งคนที่อยู่เคียงข้างจะสามารถให้กำลังใจคุณแม่ ช่วยสื่อสารกับแพทย์ขณะคลอด หรือช่วยเตือนคุณแม่เรื่องการควบคุมลมหายใจได้อีกด้วย อย่างไรก็ตาม ควรสอบถามแพทย์หรือเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องให้ดีก่อนว่าทางโรงพยาบาลอนุญาตให้สามีหรือญาติอยู่ด้วยขณะคลอดหรือไม่ หากอนุญาต ก็ควรปฏิบัติตามกฎของโรงพยาบาลอย่างเคร่งครัดด้วย
6. นวดขณะคลอด
การนวดเป็นวิธีที่ช่วยบรรเทาความเจ็บปวดระหว่างคลอดได้ ปกติแล้วดูลาจะใช้มือนวดบริเวณขมับ มือ ช่วงล่างของแผ่นหลัง หรือบริเวณเท้า นอกจากการนวดจะช่วยบรรเทาความเจ็บปวดแล้ว ยังช่วยให้คุณแม่รู้สึกผ่อนคลายจากความเครียดด้วยเช่นกัน
7. ใช้ยาช่วยบรรเทาความเจ็บปวด
ก่อนคลอด คุณแม่ควรปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับการใช้ยาเพื่อช่วยบรรเทาความเจ็บปวดขณะคลอด เพราะยาแต่ละชนิดมีวิธีใช้ สรรพคุณ และผลข้างเคียงที่แตกต่างกัน การใช้ยาเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดขณะคลอดจึงควรอยู่ในความดูแลของแพทย์อย่างใกล้ชิด
หากต้องการบล็อคหลัง ควรปรึกษาแพทย์ก่อนทำการคลอด
การให้ยาบรรเทาปวดและการบล็อคหลัง
ผู้หญิงบางคนอาจรู้สึกผิดถ้าเลือกใช้ยาบรรเทาอาการปวดจากการคลอด ราวกับว่าพวกเธอมีส่วนทำให้ทารกตกอยู่ในภาวะเสี่ยง ในความเป็นจริงแล้วการใช้ยาบรรเทาปวดระหว่างคลอดและการบล็อคหลังเป็นสิ่งที่ปลอดภัย นายแพทย์วิลเลียม แคมแมน ผู้อำนวยการแผนกระงับความรู้สึกในผู้ป่วยสูติกรรมแห่งโรงพยาบาลสตรีในบอสตันกล่าว
“มีข้อมูลที่ผิดเพี้ยนมากมาย ความเสียงและภาวะแทรกซ้อนถูกพูดถึงมากเกินไป และผู้หญิงต้องทนทรมานโดยไม่จำเป็นเลย” แคมแมนกล่าว
ยิ่งไปกว่านั้นประโยชน์ของการแก้ปวดอาจอยู่ได้นานหลังจากทารกเกิด ตามข้อมูลของนายแพทย์กิลเบิร์ต แกรนท์ ผู้อำนวยการแผนกระงับความรู้สึกในผู้ป่วยสูติกรรมแห่ง New York University Langone Medical Center มีความเชื่อมโยงระหว่างความเจ็บปวดการคลอดบุตรที่ไม่ได้รับการบรรเทาและอาการซึมเศร้าหลังคลอด ภาวะผิดปกติทางจิตใจจากเหตุการณ์รุนแรง และอาการปวดเรื้อรัง
อ่านบทความสำหรับแม่และเด็กอื่นๆที่น่าสนใจได้ที่นี่ >> story.motherhood.co.th
มองหาสินค้าสำหรับแม่และเด็กในราคาสุดพิเศษได้เลยที่ >> Motherhood.co.th
[Update] อาการ, สาเหตุ, การรักษา | อาการปวดท้องกระเพาะ – Sonduongpaper
ชื่อผู้ใช้งาน
อีเมลล์
รหัสผ่าน
Your password must be at least 6 characters long.To make your password stronger,use upper and lower case letters,numbers,and the following [email protected]#$%^&*()
ยอมรับข้อกำหนดและเงื่อนไข
รู้ทัน “โรคกระเพาะอาหาร” ด้วยการรักษาอย่างถูกวิธี
เรื่อง : รู้ทัน “โรคกระเพาะอาหาร” ด้วยการรักษาอย่างถูกวิธี
โดย พญ. พรพรรณ เทียนชนะไชยา แพทย์ผู้เชี่ยวชาญสาขาอายุรศาสตร์ โรคระบบทางเดินอาหาร
รายการ : Happy Life กับคุณหรีด
ออกอากาศ : 14 พ.ย. 58
ติดตามข่าวสารเพื่อเติมได้ที่
Fan page : www.facebook.com/bangpakok9inter
Website : www.bangpakokhospital.com
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่
เช็กพฤติกรรมเสี่ยง…กระเพาะทะลุ เป็นแล้วตายได้ | พบหมอมหิดล [by Mahidol Channel]
กระเพาะทะลุเป็นโรคที่เกี่ยวกับกระเพาะอาหารที่มีความรุนแรง เนื่องจากผู้ที่ป่วยเป็นโรคกระเพาะทะลุ มักมีอาการปวดท้องเฉียบพลันและต้องได้รับการผ่าตัดอย่างเร่งด่วน จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้โรคกระเพาะทะลุมีความอันตรายและสามารถทำให้เสียชีวิตได้ถ้าได้รับการรักษาไม่ทัน แต่โรคกระเพาะทะลุสามารถป้องกันได้หากเราปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตประจำวันบางอย่าง
ในวันนี้ อ.พญ.อวยพร เค้าสมบัติวัฒนา อาจารย์ประจำสาขาวิชาโรคระบบทางเดินอาหาร ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ม.มหิดล จะมาอธิบายถึงพฤติกรรมเสี่ยงที่ทำให้เป็นโรคกระเพาะทะลุได้ ติดตามได้ในรายการพบหมอมหิดล ตอน เช็กพฤติกรรมเสี่ยง…กระเพาะทะลุ เป็นแล้วตายได้
กระเพาะทะลุ พบหมอมหิดล MahidolChannel
ช่อง YouTube | Mahidol Channel : http://www.youtube.com/mahidolchannel
Facebook | http://www.facebook.com/mahidolchannel
Mahidol University มหาวิทยาลัยมหิดล | https://www.mahidol.ac.th/th
Website | https://channel.mahidol.ac.th/
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล | http://www.si.mahidol.ac.th/th/
โรคกรดไหลย้อน VS โรคกระเพาะ ความเหมือนที่แตกต่าง : พบหมอมหิดล [by Mahidol Channel]
“โรคกรดไหลย้อน” กับ “โรคกระเพาะ” เป็นภาวะพี่พบค่อนข้างบ่อย และอาการของโรคทั้ง 2 ยังมีความคล้ายกัน จึงทำให้คนไข้มักจะสับสน เข้าใจผิด และมักจะซื้อยามารับประทานเอง ซึ่งเป็นการรักษาที่ไม่ถูกต้อง ส่งผลให้อาการของคนไข้ลุกลามเป็นอันตรายต่อสุขภาพได้ วันนี้ ผศ.พญ.มณฑิรา มณีรัตนะพร อาจารย์ประจำสาขาวิชาโรคระบบทางเดินอาหาร ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ม.มหิดล จะมาอธิบายความเหมือนและแตกต่างของโรคทั้งสองว่าเหมือนและแตกต่างกันอย่างไร รวมไปถึงวิธีปฏิบัติตัวเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่จะช่วยให้ผลการรักษาของโรคกรดไหลย้อนและโรคกระเพาะดีขึ้น
ช่อง YouTube : Mahidol Channel : http://www.youtube.com/mahidolchannel
Facebook : http://www.facebook.com/mahidolchannel
Mahidol University มหาวิทยาลัยมหิดล : https://www.mahidol.ac.th/th
Website : https://channel.mahidol.ac.th/
ทำความเข้าใจ \”โรคกระเพาะอาหารแบบไม่มีแผล\” สาเหตุ อาการ การรักษา [หาหมอ by Mahidol Channel]
โรคกระเพาะ คนไข้มาพบ รศ.นพ.สมชาย ลีลากุศลวงศ์ สาขาวิชาโรคระบบทางเดินอาหาร ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ม.มหิดล เนื่องจากมีอาการปวดท้อง พร้อมกับมีลมดันขึ้นมาที่ลิ้นปี่ในขณะที่นอนหลับ หมอทำการซักประวัติแล้ววินิจฉัยว่า คนไข้เป็นโรคกระเพาะอาหารแบบไม่มีแผล การรักษาในผู้ป่วยรายนี้คือ กินยาลดกรด และยาเพิ่มการบีบตัวของลำไส้
โรคกระเพาะ สุขภาพดีทุกวัน MahidolChannel
ติดตามชมคลิปความรู้เรื่องโรคและสุขภาพ ทุกวันอังคาร พฤหัสฯ และเสาร์ เวลา 20.00 น.
ทาง YouTube: http://www.youtube.com/mahidolchannel
––––––––––––––––––––
ติดตามช่องทางใหม่ของ Mahidol Channel
ผ่าน LINE Official Account ได้แล้ววันนี้!
เพียงกดที่ลิงค์ https://lin.ee/d4KkmOg
หรือกดเพิ่มเพื่อน แล้วพิมพ์ @mahidolchannel ที่ช่องค้นหาของแอปพลิเคชัน LINE
––––––––––––––––––––
YouTube: http://www.youtube.com/mahidolchannel
Facebook: http://www.facebook.com/mahidolchannel
Mahidol University มหาวิทยาลัยมหิดล: https://www.mahidol.ac.th/th
Website | https://channel.mahidol.ac.th/
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล | http://www.si.mahidol.ac.th/th
ปวดท้อง กรดไหลย้อน โรคกระเพาะอาหาร ทำไงดี? | ละม่อม พยาบาลหลานย่าโม
อาการเครียดลงกระเพาะ ท้องอืด จุกแน่นหน้าอก หายใจไม่อิ่ม ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน เกิดจากกรดหลั่งผิดปกติ กรดไหลย้อน เกิดโรคกระเพาะอาหารอักเสบ การดูแล ให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รับประทานอาหารให้ตรงเวลา แบ่งมื้ออาหาร ทานครั้งละน้อยๆแต่บ่อยครั้ง หลี่กเลี่ยงอาหารรสจัด หมักดอง ชา กาแฟ ออกกำลังกาย ทำจิตใจให้สดชื่น แจ่มใส พักผ่อนให้เพียงพอ รับประทานยาลดกรด ยาแก้ปวดท้อง ยาคลายเครียด กล้วยน้ำหว้าสุก เช้า 2 ลูก เย็น 2 ลูก กล้วยหมักน้ำผึ้ง กล้วยดิบตากแห้งบดให้ละเอียดชงดื่มทุกเช้า กรดไหลย้อนโรคกระเพาะอาหารอักเสบพยาบาลหลานย่าโม
[email protected] lamom1974
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆWiki
ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ อาการปวดท้องกระเพาะ