[NEW] วิธีสังเกตอาการ “โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง” – โรงพยาบาลราชวิถี | อาการ แขน ขาอ่อน แรง – Sonduongpaper

อาการ แขน ขาอ่อน แรง: คุณกำลังดูกระทู้

        กรมการแพทย์ชี้ “โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงหรือเอแอลเอส”  มีอาการเตือนกล้ามเนื้อเกร็ง กล้ามเนื้ออ่อนแรงและลีบเล็กลงเรื่อย ๆ พูดลำบาก กลืนลำบาก หายใจติดขัดและหอบเหนื่อยจากการหายใจไม่เพียงพอ หากพบสัญญาณเตือนดังกล่าว  ควรรีบมาพบแพทย์เพื่อวินิจฉัยรักษาให้เร็วที่สุด

          นายแพทย์ณรงค์ อภิกุลวณิช รองอธิบดีกรมการแพทย์ ในฐานะโฆษกกรมการแพทย์ เปิดเผยว่า โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง  หรือ ALS (Amyotrophic Lateral Sclerosis) จัดเป็นโรคที่พบมากที่สุดในกลุ่มโรคเสื่อมของเซลล์ควบคุมกล้ามเนื้อ ทั้งในส่วนของสมอง และไขสันหลัง โดยมีอาการกล้ามเนื้อเกร็ง กล้ามเนื้ออ่อนแรงและลีบเล็กลงเรื่อย ๆ  บริเวณมือ แขน ขา หรือเท้าข้างใดข้างหนึ่งก่อน และจะค่อยๆ เป็นมากขึ้น จนลามไป ทั้ง 2 ข้าง ร่วมกับมีอาการกล้ามเนื้อเกร็งหรือกล้ามเนื้อกระตุก ต่อมาจะมีอาการพูดลำบาก กลืนลำบาก หายใจติดขัดและหอบเหนื่อยจากกล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจอ่อนแรง จนกระทั่งเสียชีวิต ส่วนใหญ่ร้อยละ75 จะพบอาการเริ่มแรกที่แขน ขา ข้างใดข้างหนึ่งก่อน ร้อยละ 25 ผู้ป่วยที่แสดงอาการครั้งแรกด้วยการกลืนหรือพูดลำบาก ส่วนสาเหตุการเกิดโรคที่แท้จริงยังไม่ทราบแน่ชัด แต่พบว่าประมาณร้อยละ 10 ของผู้ป่วยเกิดจากพันธุกรรม  โรคดังกล่าวมักพบในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง ส่วนใหญ่เกิดในช่วงอายุ 40 – 60 ปี

          วิธีการสังเกตอาการโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง  คือ  อาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ แขน หรือ ขา หรือมีอาการกลืนลำบาก เสียงเปลี่ยน ร่วมกับอาการกล้ามเนื้อลีบและกล้ามเนื้อเต้นกระตุก โดยอาการอ่อนแรงจะค่อยๆ เป็นมากขึ้นเรื่อยๆ  เมื่อมีอาการดังกล่าวควรรีบมาพบแพทย์เพื่อวินิจฉัยรักษา โดยแพทย์อายุรกรรมสาขาประสาทวิทยาที่มีประสบการณ์ จะทำการซักประวัติ  ตรวจร่างกาย และตรวจทางห้องปฏิบัติการเพิ่มเติม โดยการตรวจเส้นประสาทและกล้ามเนื้อด้วยคลื่นไฟฟ้า

          ทั้งนี้  การดูแลรักษาผู้ป่วยโรคนี้เป็นการรักษาแบบประคับประคอง ส่วนยาในปัจจุบันที่มีการยอมรับในวงการแพทย์ ช่วยชะลอการดำเนินของโรคได้มีเพียงยา Riluzole โดยมีฤทธิ์ในการยับยั้งสารกลูตาเมต ซึ่งเป็นสารสื่อประสาท ชนิดหนึ่งซึ่งถ้ามีมากเกินไปจะทำให้เกิดการตายของเซลล์  นอกเหนือจากการใช้ยาแล้ว การให้กำลังใจผู้ป่วยไม่ให้เกิดการท้อแท้และส่งเสริมให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี รวมทั้งให้ผู้ป่วยออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ทำกิจกรรมและทำกายภาพบำบัดกล้ามเนื้อส่วนที่อ่อนแรง  เพื่อป้องกันการลีบที่เกิดจากภาวะที่กล้ามเนื้อไม่ได้ใช้งานนาน ๆ และป้องกันการติดของข้อ การรับประทานอาหารและพักผ่อนให้เพียงพอ ทั้งนี้ หากผู้ป่วยมีปัญหานอนราบไม่ได้หรือเหนื่อย เนื่องจากกล้ามเนื้อกระบังลมอ่อนแรง การใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดไม่ใส่ท่อช่วยหายใจที่บ้าน จะทำให้ผู้ป่วยนอนได้ไม่เหนื่อย มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นได้

ที่มา : สำนักข่าว กรมประชาสัมพันธ์

Please follow and like us:

[NEW] วิธีบริหาร กายภาพบำบัดขาอ่อนแรง อย่างถูกต้องปลอดภัย | อาการ แขน ขาอ่อน แรง – Sonduongpaper

Low J, Reed A. Nerve and muscle stimulation. In: Electro therapy explained. London: Butterworth-Heinemann, 1990: 67-71.

See also  🦭| รักษาสิวด้วยตัวเอง งบไม่เยอะ กู้หน้าใส สิวหายจริง🔆 | รักษาสิวด้วยตัวเอง

Along G. Priciples of electrical stimulation In: Nelson RM, Currier DP eds. clinical electrotherapy. California: Appleton and Lange, 1987:65-72


RAMA Square – ดูแลตนเองอย่างไร หากเป็นโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง (2) 27/01/63 l RAMA CHANNEL


Daily Expert: ควรดูแลตนเองอย่างไร หากเป็นโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง
แขกรับเชิญ : ผศ. ดร.สิริรัตน์ ลีลาจรัส อาจารย์พยาบาล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

ติดตามชมรายการ Rama Square ได้ทุกวันจันทร์ ศุกร์ เวลา 11.0012.00 น. ทาง True Visions42 และ YouTube Rama Channel
——————————————————
ติดตามชมรายการต่าง ๆ ของรามาแชนแนลได้ทาง 
Facebook: Rama Channel
YouTube: Rama Channel TV
Website: RamaChannel.tv
True Visions 42
True ID Mobile Application

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

RAMA Square - ดูแลตนเองอย่างไร หากเป็นโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง (2) 27/01/63 l RAMA CHANNEL

โรงพยาบาลธนบุรี : การออกกำลังกายในผู้ป่วยอ่อนแรงกล้ามเนื้อ


โรงพยาบาลธนบุรี
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
HOT LINE 1645 กด 1 หรือ 024872000
เปิดบริการทุกวัน
website : www.thonburihospital.com
[email protected] : @thonburihospital
Facebook : Thonburi_hospital_Club
Instagram : thonburi_hospital
Email : [email protected]
ประโยชน์ของการออกกำลังกายในผู้ป่วยอ่อนแรง
ป้องกันภาวะข้อติดจากการนอนเป็นเวลานาน
ป้องกันกล้ามเนื้อฝ่อลีบจากการไม่ได้ใช้งานในข้างที่มีแรง
กระตุ้นการทำงานและเพิ่มกำลังกล้ามเนื้อข้างที่อ่อนแรง

หลักการออกกำลังกายในผู้ป่วยที่อ่อนแรงครึ่งซีก
ควรทำเป็นประจำทุกวัน สม่ำเสมอ
ควรยืดเหยียดกล้ามเนื้อก่อนการออกกำลังกาย
ไม่กลั้นลมหายใจขณะออกกำลังกายในทุกๆท่า
ไม่ควรทำในขณะที่ผู้ป่วยมีอาการผิดปกติ เช่น หอบเหนื่อย หายใจเร็ว หน้าซีด มือเย็น
หากระหว่างการออกกำลังกาย ผู้ป่วยมีอาการหน้าซีด เหงื่อออกมาก มือเท้าเย็น พูดคุยไม่รู้เรื่อง ควรหยุดออกกำลังกายและพาไปพบแพทย์ทันที

ท่าที่ 1 ท่ายกแขนขึ้นตรง
► นอนหงายแขนชิดลำตัว จากนั้นยกแขนขึ้นข้างหน้าช้าๆ จนถึงจุดที่ตึงหรือจนแขนชิดหู จากนั้นหุบกลับสู่ตำแหน่งเดิมช้าๆ

ท่าที่ 2 ท่ายกแขนทางด้านข้าง
► นอนหงายแขนชิดลำตัว จากนั้นกางแขนออกทางด้านข้างจนถึงชุดที่ตึง ช่วงที่แขนเลยหัวไหล่ให้หมุนปลายแขนให้นิ้วโป้งชี้ขึ้นแล้วยกแขนจนถึงจุดที่ตึงหรือจนแนบชิดหู จากนั้นหุบเข้าตำแหน่งเดิม

ท่าที่ 3 ท่าชูแขนขึ้นเพดาน
► งอศอกขึ้น แขนชิดลำตัว จากนั้นชูแขนขึ้นพยายามแตะเพดาน แล้วหุบเข้าตำแหน่งเดิม

ท่าที่ 4 ท่างอเหยียดศอก
► แขนเหยียดสุดแล้วจึงงอศอกขึ้นมา พยายามให้ถึงหัวไหล่ตนเอง ทำข้างละ 10 ครั้ง วันละ 12 รอบ ข้างที่อ่อนแรงควรมีคนประคองบริเวณข้อศอกและข้อมือดังรูป

See also  The Lucha Dragons vs. The New Day: Raw, April 20,2015 | ซินคาร่า

ท่าที่ 5 ท่าหมุนแขนคว่ำหงายมือ
► นอนหงายแขนชิดลำตัว งอข้อศอกขึ้น จากนั้นหมุนปลายแขนให้มือหงาย

ท่าที่ 6 ท่ากระดกข้อมือขึ้นตรง
► นอนหงายแขนชิดลำตัว งอข้อศอกขึ้น จากนั้นกระดกข้อมือขึ้นลง

ท่าที่ 7 ท่างอสะโพกยกขาขึ้น
► นอนหงาย จากนั้นงอสะโพกขึ้นพร้อมเหยียดขาไว้ จากนั้นวางลงช้าๆ

ท่าที่ 8 ท่ายกขางอเข่างอสะโพก
► นอนหงาย จากนั้นงอเข่าและสะโพกขึ้น แล้วเหยียดขาไปข้างหน้าตรงๆ

ท่าที่ 9 ท่ากางขาหุบขานอนหงาย
► จากนั้นกางขาออกด้านข้างตรงๆ ไม่งอสะโพก จากนั้นหุบขาเข้าตำแหน่งเดิม อาจะมีคนช่วยประคองใต้เข่าและข้อเท้าได้

ท่าที่ 10 ท่าหมุนสะโพก กางสะโพก
► นอนหงาย ชันเข่าข้างที่จะออกกำลังกายขึ้น จากนั้นหมุนสะโพกเข้าออก ทำข้างละ 10 ครั้ง 12 รอบ ข้างที่อ่อนแรงควรมีคนประคองบริเวณที่ปลายเท้าหรือ ใต้ข้อพับเข่า

ท่าที่ 11 ท่ากระดกข้อเท้าขึ้นลง
► นอนหงาย จากนั้นกระดกข้อเท้าขึ้นลงเอง หากผู้ป่วยไม่สามารถกระดกข้อเท้าขึ้นเองได้ ให้ผู้ช่วยวางมือ แล้วใช้ท้องแขนยันปลายเท้าขึ้น

ท่าที่ 12 ท่ายกก้น
► ท่าเริ่มต้น นอนหงาย ชันขาขึ้นสองข้าง จากนั้นยกก้นลอยขึ้น เกร็งค้างไว้ หายใจเข้าตามปกติ นับหนึ่งถึงสิบในใจแล้วจึงผ่อนตัวลง ทำ 10 ครั้ง

โรงพยาบาลธนบุรี : การออกกำลังกายในผู้ป่วยอ่อนแรงกล้ามเนื้อ

โรงพยาบาลธนบุรี : อาการไหนใช่โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง


กล้ามเนื้ออ่อนแรงเป็นภัยเงียบที่ไม่สามารถทราบล่วงหน้าได้ว่าจะเป็นหรือไม่ และคนทั่วไปมักจะมองข้ามอาการเริ่มต้นที่มักคล้ายกับอาการปวดเมื่อย เมื่อยล้า เพราะคิดว่าเป็นเรื่องปกติจากการทำงาน จนอาจมองข้ามการมาพบแพทย์ กว่าจะรู้ว่าเป็นหรือถึงมือแพทย์ก็มีอาการที่ทรุดลงหนักแล้ว หากมีอาการเข้าข่ายเหมือนในคลิปนี้ แนะนำว่าควรรีบพบแพทย์ดีกว่านะครับ

โรงพยาบาลธนบุรี : อาการไหนใช่โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง

พบหมอรามาฯ : การฟื้นฟูผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง ดูแลตัวเองได้ที่บ้าน RamaHealthTalk (ช่วง2)25.9.62


พบหมอรามาฯ ช่วง Rama Health Talk (ช่วงที่ 2)
การฟื้นฟูผู้ป่วย \”โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง\” ดูแลตัวเองได้ที่บ้าน
อ. นพ.เตชิต จิระวิชิตชัย ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ออกอากาศวันที่ 25 กันยายน 2562
พบหมอรามาฯ RamaHealthTalk
ติดตามชมรายการ \”พบหมอรามาฯ\” พบกับช่วง \”คุยข่าวเม้าท์กับหมอ\” อัพเดทข่าวสารเรื่องสุขภาพโรคภัยไข้เจ็บ และ ช่วง \” Rama Health Talk\” เรื่องราวสุขภาพที่จะทำให้คุณมีสุขภาพที่ดี ทุกวันจันทร์ วันศุกร์ เวลา 15.3016.30 น. ทาง True Visions42 และ YouTube Rama Channel
ติดตาม Rama Channel ได้ทาง
ติดตามชมรายการต่าง ๆ ของรามาแชนแนลได้ทาง 
Facebook: Rama Channel
YouTube: Rama Channel TV
Website : RamaChannel.tv
True Visions 42
True ID Mobile Application

พบหมอรามาฯ : การฟื้นฟูผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง ดูแลตัวเองได้ที่บ้าน RamaHealthTalk (ช่วง2)25.9.62

See also  What’s in my carry on bag พกอะไรในกระเป๋าเดินทาง (ขึ้นเครื่อง) | icepadie | กระเป๋า เดินทาง ขึ้น เครื่อง

อาการแขนขา ไม่มีแรง โรคหลอดเลือดสมอง อาการ | พี่ปลา Healthy fish


อาการแขนขา ไม่มีแรง
อาการแขนขาอ่อนแรงเกิดจากอะไร
อาการแขนขาชาเกิดจากอะไร
โรคหลอดเลือดสมอง อาการ
โรคหลอดเลือดสมอง เป็นอย่างไร
ผู้สูงอายุ
สุขภาพ
พี่ปลา healthy fish
healthy fish
healthy fish by peepla
คุณครูพี่ปลา Youtuber
แขนขาอ่อนแรง โรคหลอดเลือดสมองกับกายภาพบำบัด
\”
อาการแขนขา ไม่มีแรง
โรคหลอดเลือดสมอง อาการ
อาการผิดปกติของ ร่างกาย
ก็จะแสดงในซีกฝั่งตรงข้าม
และมักเป็นทั้งซีก
\”
อาการแขนขา ไม่มีแรง
อาการแขนขาอ่อนแรงเกิดจากอะไร
อาการแขนขาชาเกิดจากอะไร
โรคหลอดเลือดสมอง อาการ
โรคหลอดเลือดสมอง เป็นอย่างไร
ผู้สูงอายุ
สุขภาพ
พี่ปลา healthy fish
healthy fish
healthy fish by peepla
คุณครูพี่ปลา Youtuber
แขนขาอ่อนแรง โรคหลอดเลือดสมองกับกายภาพบำบัด
\”
1. ความดันโลหิตสูง ปัจจัยเสี่ยง
เส้นเลือดสมองแตก แต่ควบคุมได้
อาการแขนขา ไม่มีแรง
ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมี
ความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองตีบ
และแตก มากกว่าคนปกติถึง 25 เท่า
แต่สามารถลดความเสี่ยงของโรค
ดังกล่าวลงได้ประมาณ 30 – 40%
เพียงควบคุมความดันโลหิตให้อยู่
ในเกณฑ์ปกติ โดยลดอาหารมันและเค็ม
การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
รวมถึงรับประทานยาลดความดัน
และพบแพทย์ตามนัดอย่างเคร่งครัด
\”
อาการแขนขา ไม่มีแรง
อาการแขนขาอ่อนแรงเกิดจากอะไร
อาการแขนขาชาเกิดจากอะไร
โรคหลอดเลือดสมอง อาการ
โรคหลอดเลือดสมอง เป็นอย่างไร
ผู้สูงอายุ
สุขภาพ
พี่ปลา healthy fish
healthy fish
healthy fish by peepla
คุณครูพี่ปลา Youtuber
แขนขาอ่อนแรง โรคหลอดเลือดสมองกับกายภาพบำบัด
2. ผู้สูงอายุหกล้ม ทำให้
เส้นเลือดสมองแตกใช่หรือไม่
เส้นเลือดสมองแตกไม่ใช่
สาเหตุของอัมพฤกษ์ อัมพาต
แต่ในทางกลับกัน โรคเส้นเลือดสมองแตก
มักเป็นสาเหตุให้ผู้สูงอายุเกิดอุบัติเหตุ
ล้มศีรษะกระแทกพื้น ซึ่งหากเกิดใน
ระดับที่มีความรุนแรงมาก อาจทำให้
เลือดออกในกะโหลกศีรษะและ
เกิดอาการกะโหลกศีรษะแตกร่วมด้วย
\”
อาการแขนขา ไม่มีแรง
อาการแขนขาอ่อนแรงเกิดจากอะไร
อาการแขนขาชาเกิดจากอะไร
โรคหลอดเลือดสมอง อาการ
โรคหลอดเลือดสมอง เป็นอย่างไร
ผู้สูงอายุ
สุขภาพ
พี่ปลา healthy fish
healthy fish
healthy fish by peepla
คุณครูพี่ปลา Youtuber
แขนขาอ่อนแรง โรคหลอดเลือดสมองกับกายภาพบำบัด
\”
อาการแขนขาไม่มีแรง
โรคหลอดเลือดสมองอาการ
พี่ปลาhealthyfish
\”
\”

อาการแขนขา ไม่มีแรง โรคหลอดเลือดสมอง อาการ | พี่ปลา Healthy fish

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆWiki

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ อาการ แขน ขาอ่อน แรง

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *