ระบบย่อยอาหาร
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่
ระบบย่อยอาหาร ป.6
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหารมีหน้าที่ย่อยอาหารให้ละเอียด แล้วดูดซึมผ่านเข้าสู่กระแสเลือดเพื่อไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
การย่อยอาหาร (Digestion) หมายถึง กระบวนการสลายอนุภาคอาหารให้มีขนาดเล็กสุด จนสามารถดูดซึมเข้าไปในเซลล์ได้
เมื่อมนุษย์รับประทานอาหารเข้าสู่ร่างกาย จะผ่านระบบต่าง ๆ ดังนี้
ปาก
หลอดอาหาร
กระเพาะอาหาร
ลำไส้เล็ก
ลำไส้ใหญ่
ของเสียออกทางทวารหนัก
ระบบย่อยอาหาร – วิทยาศาสตร์ ป.6
สื่อการเรียนการสอน วิทยาศาสตร์ ป.6 ชุดนี้
เรื่อง ระบบย่อยอาหาร
มาเรียนรู้ระบบการทำงาน เรื่องระบบการย่อยอาหารของมนุษย์ ว่าจะเป็นอย่างไร
กระบวนการย่อยอาหาร มีอะไรบ้าง และทำงานอย่างไร
การย่อยอาหารเชิงกล หมายถึง
อวัยวะใดบ้างที่ทำหน้าที่ในระบบย่อยอาหาร
เมื่อเกิดอาหารที่ย่อยไม่ได้ จะถูกนำไปยังอวัยวะใด
การดูแลรักษาอวัยวะในระบบย่อยอาหาร
รับประทานอาหารที่มีเอนไซม์ในการช่วยย่อย เพื่ออะไร
การทานอาหารให้ตรงเวลา ดีอย่างไร และทำไปเพื่ออะไร
เป็นสื่อการเรียนการสอนที่นำมาจาก
โครงการแท็บเล็ตพีซีเพื่อการศึกษาไทย
(OTPC : One Tablet Per Child)
จัดทำโดยสำนักงานเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พบกับ!!! สื่อการเรียนการสอนทุกระดับชั้น ป.1 ม.3
อีกมากมาย คลิกเลยที่ http://www.otpchelp.com
ลำไส้ใหญ่ ทำหน้าที่อะไร
การทำงานของกระเพาะอาหาร
อาการและวิธีป้องกันแผลในกระเพาะอาหาร | หมอหมีมีคำตอบ
อาการและวิธีป้องกันแผลในกระเพาะอาหาร
กระเพาะอาหาร เป็นอวัยวะหนึ่งในร่างกาย อยู่บริเวณลิ้นปี่เยื้องไปด้านซ้ายของท้อง ทำหน้าที่ย่อยอาหารและบีบตัวส่งอาหารไปยังลำไส้เล็กและลำไส้ใหญ่ เมื่อมีแผลในกระเพาะหรือกระเพาะอาหารอักเสบ จะทำให้เรามีอาการปวดท้องขึ้นมาได้ โดยอาการปวดท้อง จะปวดแบบบีบๆ เป็นมากช่วงท้องว่างและช่วงหลังทานอาหารลงไป หรือพูดง่ายๆว่า หิวก็ปวด กินก็ปวด อาจมีอาการอื่นๆร่วม คือ ท้องอืด จุกท้อง เรอเหม็นเปรี้ยว เป็นต้น
ปัจจัยที่ทำให้เกิดแผลในกระเพาะอาหาร คือ ยาแก้ปวดในกลุ่ม NSAIDs ยาละลายลิ่มเลือด แอลกอฮอล์ทุกชนิด สมุนไพรบางชนิด และแบคทีเรีย H. Pylori ดังนั้นถ้าหลีกเลี่ยงปัจจัยประตุ้นเหล่านี้ได้ จะช่วยให้ไม่เป็นแผลในกระเพาะอาหาร
1. ไม่ซื้อยาแก้ปวดทานเอง ไม่ใช้ยาแก้ปวดติดต่อกันเป็นเวลานาน
2. งดดื่มแอลกอฮอล์
3. หลีกเลี่ยงทานสมุนไพร ถ้าไม่จำเป็น
4. รับประทานอาหารปรุงสุก
ถูกใจคลิปนี้ อย่าลืม กดLike กดแชร์ กดSubscribe กดกระดิ่ง ติดตามช่อง \”หมอหมีเม้าท์มอย\” กันด้วยนะครับ
ติดตามผลงาน \”หมอหมีเม้าท์มอย\” ได้ที่
Youtube : http://www.youtube.com/c/หมอหมีเม้าท์มอย
Facebook : https://www.facebook.com/MhomheeTalks/
IG : MhoMheeTalk
หมอหมีเม้าท์มอย หมอหมีมีคำตอบ แผลในกระเพาะอาหาร @หมอหมี เม้าท์มอย
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Wiki